Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chapter10 The Child with Respiratory Dysfunction, นางสาวอัญทิรา ตากองค์…
Chapter10 The Child with Respiratory Dysfunction
โรคหูชั้นกลางอักเสบ (Otitis Media; OM)
Acute otitis media (AOM) หมายถึง การอักเสบของหูชั้นกลางเฉียบพลัน (acute inflammation of middle ear) ในระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์ อาจมีแก้วหูทะลุหรือไม่มีก็ได้
Otitis media with effusion (OME) หมายถึง ภาวะที่พบของเหลวขังอยู่ในหูชั้นกลาง แก้วหูไม่ทะลุ (effusion in middle ear without acute inflammation) มักเกิดตามหลังการอักเสบของหูชั้นกลา
Chronic otitis media หมายถึง การอักเสบของหูชั้นกลางเรื้อรังเกิน 3 สัปดาห์
หายไม่สนิท หรือมีการกลับเป็นซ้ำบ่อย ๆ หรือมี underlying ที่เกี่ยวข้อง
Croup syndrome
Acute epiglottitis / Acute supraglottitis เป็นการอักเสบเฉียบพลันของฝาปิดกล่องเสียงและบริเวณรอบข้าง ได้แก่ epiglottis, aryepiglottic folds, ventricular bands และ arytenoids การอักเสบที่เกิดขึ้นมักรุนแรง ทำให้ทางเดินหายใจส่วนบนบวมมากจนเกิดการอุดกั้น
Acute Laryngotracheobronchitis / Viral croup เกิดจากการติดเชื้อของทางเดินหายใจในเด็กที่มีการอักเสบและบวมของกล่องเสียง (larynx) หลอดคอ(trachea) และหลอดลมแยก (bronchi) โดยเฉพาะที่ตำแหน่งใต้ต่อกล่องเสียง (subglottic region) ทำให้เกิดภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลัน
Acute spasmodic laryngitis เกิดจากมีการบวมหรืออุดกั้นบริเวณกล่องเสียงบ่อยครั้ง ซึ่งถูก
กระตุ้นจากเชื้อไวรัส อาการแพ้ หรือกรดไหลย้อน
Bacterial tracheitis ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ Staphylococcus aureus โดยหลอดคอ (trachea)ประกอบด้วยกระดูกอ่อนหุ้มด้วยเมื่อมีการติดเชื้อ เยื่อบุจะบวมและมีการอักเสบร่วมกับมีเสมหะ ทำให้ทางเดินหายใจตีบแคบลง เพิ่มแรงต้านทานของการไหลของอากาศ อาจเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบนอย่างรุนแรงได้
โรคกล่องเสียงและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
(Acute Laryngotracheobronchitis/ Viral Croup)
ส่วนใหญ่คือเชื้อไวรัส ที่พบบ่อยที่สุด คือ parainf(uenza viruses (type 1-3) พบได้ร้อยละ 50-75 ของผู้ป่วยโรคนี้ ไวรัสอื่น I ที่พบเป็นสาเหตุ ได้แก่ influenza A & B, respiratory syncytial virus (RSV)
ลักษณะทางคลินิก
เด็กจะมีอาการของโรคหวัด เช่น น้ำมูก ไอเล็กน้อย และไข้ต่ำ ๆ หรืออาจมีไข้สูงถึง 40 องศา เสียงแหบ และหายใจได้ยินเสียง stridor ซึ่งมักเกิดในช่วงหายใจเข้า อาการมักเป็นมากขึ้นในเวลากลางคืน ขณะกระสับกระส่าย
ในเด็กที่มีอาการรุนแรงมาก จะมีอาการหายใจลำบาก และตรวจพบอาการแสดงต่อไปนี้ ได้แก่หายใจเร็ว หัวใจเต้นเร็ว จมูกบาน (nasal flaring) อกบุ๋ม (chest-wall retractions) ได้ยินเสียง stridor ทั้งในช่วงหายใจเข้าและออก
แนวทางการรักษา
อาการรุนแรงน้อย (mild croup หรือ Downes score < 4) เด็กจะได้รับยาเพื่อลดการบวมของทางเดินหายใจ ได้แก่ dexamethasone หรือ prednisolone สามารถกลับบ้านได้ และติดตามอาการ
อาการรุนแรงปานกลาง (moderate croup หรือ Downes score 4-7) รบกวนเด็กให้น้อยที่สุด รักษาโดยการให้ออกชิเจนและให้dexamethasoneรับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อดูแลรักษาและติดตามอาการ
อาการรุนแรงมาก (severe croup หรือ Downes score >7) รีบให้การรักษาโดยการให้ออกซิเจนให้ nebulized epinephrine และdexamethasone แบบฉีด
โรคหืด (Asthma)
เป็นภาวะหลอดลมตีบชั่วคราว (reversible aiflowobstruction) ซึ่งเกิดจากผู้ป่วยสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้อันจะกระตุ้นให้หลอดลมอักเสบจนกระทั่งเกิดภาวะหลอดลมตีบตามมา
ลักษณะทางคลินิก
มีอาการไอ หอบเหนื่อย แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด โดยเป็นซ้ำหลาย ๆ ครั้ง
อาการมักเกิดขึ้นตามหลังได้รับสิ่งกระตุ้น ได้แก่ การติดเชื้อทางเดินหายใจ การออกกำลังกายควันบุหรี่ สารระคายเคือง
อาการไอ หายใจไม่สะดวก หรือหายใจมีเสียงหวีด
อาการไอแห้ง ๆ เรื้อรัง ตั้งแต่ 4 สัปดาห์ขึ้นไป โดยหาสาเหตุไม่ได้ และตอบสนองต่อยาขยาย
มักพบร่วมกับโรคภูมิแพ้อื่น ๆ เช่น ผิวหนังอักเสบจากภูมิแพ้ (atopic dermatitis) เยื่อบุจมูก
6.ในขณะที่มีอาการ มักฟังปอดได้ยินเสียงหวีด (wheezy) หรือพบอาการเขียว ซึม พูดไม่เป็น
ประโยค หัวใจเต้นเร็ว หายใจหน้าอกบุ๋ม
แนวทางการรักษา
1.ควรได้รับการให้ความรู้เกี่ยวกับโรค สาเหตุ และการป้องกัน และติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง
การประเมินระดับความรุนแรง รักษา เฝ้าระวังติดตาม และควบคุมอาการของโรคหืด
3.1 ยาบรรเทาอาการ (reliever) ได้แก่ ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ เร็ว คือSalbutamol (Ventolin) เป็นยาที่มีฤทธิ์ป้องกันและรักษาอาการหดเกร็งของหลอดลม
3.2 ยาที่ใช้ในการควบคุมอาการ (controller) ใช้เป็นยาหลักในการรักษาโรคหืดชนิด
เรื้อรัง เพื่อควบคุมอาการของโรค และลดอาการกำเริบ
การค้นหาและหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้และปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ เป็นหลักการรักษาที่สำคัญที่สุดในการดูแลเด็กโรคหืด
ภาวะหืดกำเริบ (Asthma Exacerbation)
เป็นภาวะที่เป็นอันตรายถึงชีวิต ควรได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีในห้องฉุกเฉิน และรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
ลักษณะทางคลินิก
กระสับกระส่าย ชายโครงบุ๋ม พูดได้เป็นคำ ๆ (ไม่เป็นประโยค)
ตรวจร่างกายพu audible wheeze หรือ poor air entry หรือ SpO2 < 95% (room air)
หายใจหอบมาก ระดับความรู้สึกตัวลดลง เขียว
การรักษา
การให้ออกซิเจน เพื่อลดอาการหอบเหนื่อย ช่วยให้เกิดการขยายของหลอดลม ลดการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ และลดการเกิดหัวใจต้นผิดจังหวะดยรักษาระดับ SpO, ให้อยู่ที่ระดับ 2 95% ด้วยการให้
การให้ยาขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์สั้น (short-acting beta 2 agonist / SABA)
การให้ยา systemic corticosteroids ในเด็กที่มีอาการปานกลางถึงรุนแรงทุกรายได้แก่Prednisolone, Dexamethasone, Hydrocortisone หรือ
การให้ยา inhaled corticosteroids (ICS) ได้แก่ nebulized Budesonide หรือ nebulized Fluticasone โดยผสมกับ nebulized SABA (Salbutamol)
5.การให้ยา inhaled corticosteroids (ICS) ได้แก่ nebulized Budesonide หรือ nebulized Fluticasone โดยผสมกับ nebulized SABA (Salbutamol)
นางสาวอัญทิรา ตากองค์ 64122230102