Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
8.ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียร์เจท์ - Coggle Diagram
8.ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียร์เจท์
ประวัติของเพียร์เจท์
ฌอง เพียร์เจท์(Jean Piaget: 1896 1980) นักจิตวิทยาชาวสวิตเซอร์แลนด์ เขาเรียนจบปริญญาเอกทางวิทยาศาสตร์ ในสาขาสัตว์วิทยาเป็นผู้สร้างทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาเพราะหลังจากที่เขาได้รับปริญญาเอกในปี ค.ศ. 1918 เขาได้ไปทำงานกับนายแพทย์ปีเนต์ (Binet) และซีโม (Simon) ผู้ซึ่งเป็นผู้แต่งข้อสอบเชาว์ขึ้นเป็นครั้งแรก หลังจากที่ได้ทำงานนั้นเขาก็ได้มีความสนใจในเรื่องของเชาว์ปัญญาในเด็ก
หลักพัฒนาการตามแนวคิด
เพียร์เจท์ ได้ให้หลักการของการพัฒนาการของเด็กในวัยรุ่นหรือในวัยมัธยมศึกษา ซึ่งสามารถคิดได้ในแบบของผู้ใหญ่ ได้ดังนี้
1.คิดในสิ่งที่เป็นนามธรรมได้
2.มีความสนใจในปรัชญาชีวิต ศาสนา อาชีพยุติธรรม เสมอภาคและมีมนุษยธรรม
3.สามารถใช้เหตุผลเป็นหลักในการตัดสินใจ
4.สามารถคิดเหตุผลได้ทั้งอนุมานและอุปมาน
5.มีหลักการในการให้เหตุผลของตนเอง ที่เกี่ยวข้องกับความ
ทฤษฎีการเรียนรู้
พัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวัยต่างๆเป็นลำดับขั้น ดังนี้
1.ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่
2.ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage)เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี
การประยุกต์ใช้
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียร์เจท์
เมื่อทำงานกับนักเรียน ผู้สอนควรคำนึงถึงพัฒนาการทางสติปํญญาของนักเรียนดังต่อไปนี้
นักเรียนที่มีอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงไม่ควรเปรียบเทียบเด็ก ควรให้เด็กมีอิสระที่จะเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของเขาไปตามระดับพัฒนาการของเขา นักเรียนแต่ละคนจะได้รับประสบการณ์ 2 แบบคือ
ประสบการณ์ทางกายภาพ จะเกิดขึ้นเมื่อนักเรียนแต่ละคนได้ปฏิสัมพันธ์กับวัตถุต่างในสภาพแวดล้อมโดยตรง
ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์ จะเกิดขึ้นเมื่อนักเรียนได้พัฒนาโครงสร้างทางสติปัญญาให้ความคิดรวบยอดที่เป็นนามธรรม