Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 การสร้างเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยทางส่งเสริมแล…
หน่วยที่ 6 การสร้างเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การตรวจสอบเครื่องมือเก็บข้อมูล
แนวคิดพื้นฐาน
การจะทราบว่าเครื่องมือนั้นดีหรือไม่ผู้วิจัยต้องมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ต้องทราบความหมายการกำหนดคุณภาพของการวัดระดับของการวัด และความผิดพลาดของการวัดเพราะการวัดมีความสำคัญต่อการ
ความผิดพลาดในการวัด
ความผิดพลาดสุ่ม
ความผิดพลาดไม่สุ่ม
การกำหนดคุณภาพของการวัด
ความตรงในการวัด
ความเที่ยงในการวัด
ความว่องไว
ความสามารถในการแบ่งแยกของการวัด
ความหมาย
กระบวนการแปรสภาพข้อความคิดหรือแนวคิด ซึ่งมีลักษณะเป็นนามธรรมให้เป็นข้อมูลทางสถิติเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ
การตรวจสอบความเที่ยงในการวัดของเครื่องมือ
ความหมาย
การตรวจสอบว่าเครื่องมือนั้นวัดสิ่งที่ต้องการจะวัดได้ตามวัตถุประสงค์ที่ผู้วิจัยต้องการและวัดได้คลอบคลุมครบถ้วนตามเนื้อที่ต้องการวัดและถูกต้องตรงความ
ประเภทความตรงในการวัด
ความตรงในเนื้อหา
ความตรงตามมาตรฐาน
ความตรงในตัวสร้าง
การตรวจสอบความตรงในการวัดของเครื่องมือ
วิธีทดสอบความเที่ยง
การวัดซ้ำ
วัดแบบที่ทดสอบแทนกันได้
วัดแบบแบ่งครึ่ง
วัดความสอดคล้องภายใน
การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
ความหมายและความสำคัญ
ความสำคัญ
เป็นกุญแจสำคัญนำไปสู่การคำตอบของการวิจัย
เป็นตัวเชื่อมที่สำคัญระหว่างปัญหา วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการวิจัย
สำคัญต่อคุณภาพของานวิจัย
มีส่วนสำคัญทำให้การเก็บรวบรวมข้อมูลกระชับตรงประเด็น
มีส่วนช่วยในการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการ
ความหมาย
เครื่องมือ อุปกรณ์หรือสิ่งที่ผู้วิจัยใช้เป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลตามตัวแปรในการวิจัยที่ผู้วิจัยได้กำหนดไว้อาจเป็นได้ทั้งข้อมูลปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ
ประเภทของเครื่องมือ
แบบทดสอบ
เป็นชุดของคำถาม เพื่อถามเรื่องใดเรื่องหนึ่งนิยมใช้เก็บข้อมูลปฐมภูมิมีรูปแบบการถามที่กำหนดเป็นข้อคำถามหรือรายการให้เลือกตอบในรูปแบบเขียนตอบ ทำเครื่องหมาย หรือเติมคำ
ปลายปิด
ประมาณค่า
ปลายเปิด
แบบสังเกต
เป็นชุดของคำถามหรือแนวทางที่ใช้เก็บข้อมูลที่เกี่ยวกับปรากฏการณ์ พฤติกรรมของบุคคลขณะที่ปากฎการณ์ พฤติกรรมนั้นกำลังเกิดขึ้น
แบบกึ่งโครงสร้าง
แบบมีโครงสร้าง
แบบสอบถาม
เป็นเครื่องมือใช้วัดความรู้ ความจำ ความเข้าใจเฉพาะเรื่องสร้างขึ้นอย่างมีระบบ
แบบปรนัย
วัดตามแนวคิดของลิเคิร์ด (Likert)
แบบสัมภาษณ์
เป็นชุดของคำถามที่สร้างขึ้นโดยมีการสื่อสารระหว่างกันผู้ถามกับผู้ให้ข้อมูลและมีจุดมุ่งหมายตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
แบบมีโครงสร้าง
แบบกึ่งโครงสร้าง
แบบไม่มีโครงสร้าง
เครื่องมืออื่นๆที่ต้องกำหนดประเด็นคำถามสำหรับการเก็บข้อมูล
เป็นเครื่องมือที่ตั้งคำถามหรือหัวข้อสนทนามักเป็นลักษณะคำถามแบบปลายเปิดและไม่มีโครงสร้างเข้มงวดในการถามและสรุปข้อมูลเป็นแผนภาพ แผนที่ แผนผัง ปฏิทิน และตาราง
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ
กำหนดข้อมูลที่ต้องการ
กำหนดประเด็นคำถาม
สร้างคำถามให้ครบทุกประเด็น
ทดลองใช้
ขั้นตอนปรับปรุงแก้ไขเพื่อนำไปใช้จริง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยเครื่องมืออื่น ๆ
แผนที่
ทรัพยากร
ภาพตัดขวาง
ทางสังคม
หมู่บ้าน
ภาพตัดขวางแต่ละช่วงเวลา
ความคิด
ปฏิทิน
แรงงาน
ฤดูกาล
เวลา
แผนผัง
กิจกรรม
เวนน์
การถ่ายเททรัพยากรระหว่างหมู่บ้าน
ใยแมงมุม
พฤกษาครอบครัว
การถ่ายเททรัพยากรธรรมชาติ
ต้นไม้ปัญหา
ตาราง
เมตริกคะแนน
เมตริกคะแนนแหล่งข้อมูลข่าวสาร
การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์
เป็นการเก็บข้อมูลแบบเผชิญหน้าโดยการพูดคุยสนทนาอย่างมีจุดมุ่งหมาย
วิธีเก็บข้อมูล
สัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลเป็นรายบุคคล
สัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก
สัมภาษณ์แบบกลุ่ม
สัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลทางโทรศัพท์
การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต
เป็นการเฝ้าดูสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างเอาใจใส่และกำหนดไว้อย่างมีระบบเพื่อหาความสัมพันธ์ของสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นกับสิ่งอื่น
ลักษณะการเก็บข้อมูล
ตอบสนองวัตถุประสงค์ของการวิจัย
กำหนดจุดมุ่งหมายที่แน่นอนและชัดเจนวาต้องการสังเกตให้ทราบในสิ่งใดหรือเรื่องใด
มีการวางแผนอย่างเป็นระบบโดยกำหนดกรอบการสังเกตและระยะเวลาที่สังเกต
ประเภทของการสังเกต
แบบมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด
แบบไม่มีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด