การประเมินสภาพแรกรับหลังย้ายออกจากห้องผ่าตัด 2 ชั่วโมง
PE HEENT: not pale, no jaundice, normal tonsil, On NG tube ต่อ Gomco suction cintermittent suction มี content สีเขียวเข้ม ประมาณ 150 cc
Lung: barrel shape, fine crepitation and wheeze at lower lobe of both lungs,dyspnea, ใช้ sternocleidomastoid muscle ช่วยในการหายใจบางครั้ง
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
CXR : pulmonary infiltration of both lungs
PFT : FEV160%, FEV1 / FVC ratio 55%
ABG : PH = 7.34 ,Pa02 =90 mmHg, PaCO2 = 47 mmHg, HCO3 =30 mEa/L,BE =-1,02 Sat = 90%
CBC : Hb 15.5 gm%, Hct 48 vol%, WBC 14,000 cumm, Plt 330,000 cumm,neutrophil 85%, lymphocyte 22%, monocyte 7% , eosinophil 2%
Sputum gram stain: gram +cocci, colony count 105/CFU
Sputum C/S : Pseudomonas aeruginosa
Pneumonia
-
อาการและอาการแสดงออก : ไอมีเสมหะ เจ็บหน้าอกขณะหายใจหรือไอ หายใจเร็ว หายใจหอบ หายใจลำบาก มีไข้ เหงื่อออก หนาวสั่น คลื่นไส้ อาเจียน หรือท้องเสีย อ่อนเพลีย
ความหมาย : อาการปอดติดเชื้อและเกิดภาวะอักเสบ ทำให้มีอาการ เช่น มีไข้ ไอ เจ็บหน้าอก หรือหอบเหนื่อย เป็นต้น โดยอาจเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อรา หรือพยาธิ หากเกิดการติดเชื้อจากสารเคมีหรือยาบางอย่าง มักเรียกว่าปอดอักเสบ
-
คำแนะนำในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง เหมาะสมกับผู้ป่วยรายนี้
โรคลำไส้อุดตัน (Gut obstruction )
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิต
-เลือกรับประทานอาหารที่มีไขมันต่ำ
-รับประทานผักและผลไม้ที่มีกากใยไฟเบอร์สูง
-งดการสูบบุหรี่
โรคปอดอักเสบ (pneumonia )
-ไม่สูบบุหรี่ เนื่องจากบุหรี่จะไปทำลายกระบวนการป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจตามธรรมชาติของปอด
-ดูแลสุขอนามัยส่วนตัว เช่น หมั่นล้างมือเป็นประจำ และหลีกเลี่ยงการไปอยู่ในที่ที่มีผู้คนหนาแน่น
-หลีกเลี่ยงควันบุหรี่ ควันไฟ ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ หรืออากาศที่หนาวเย็น
-เมื่อเป็นหวัด หรือไข้หวัดใหญ่อย่าปล่อยทิ้งไว้ ควรรักษาให้หายขาดแต่เนิ่นๆ
-สร้างระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งแรงด้วยการนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
-ไม่ดื่มสุรามากจนมึนเมาเพราะอาจสำลักเอาเชื้อโรคจากปากเข้าปอด