Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติ ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคลอด -…
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติ
ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคลอด
รูปแบบของการคลอดผิดปกติ
Dystocia คลอดยาก
Obstructed labor คลอดติดขัด
Prolonged labor คลอดยาวนาน
Abnormal powers
ความผิดปกติของแรง
1.ความผิดปกติของแรงจากการหดรัดตัวของมดลูก
Uterine contraction
การหดรัดตัวที่ผิดปกติมี 2 ลักษณะ
1.1 การหดรัดตัวของมดลูกน้อยกว่าปกติ
Hypotonic uterine dysfunction (Uterine inertia)
การหดรัดตัวเป็นจังหวะปกติ แต่หดไม่แรง
สาเหตุและปัจจัย
-Polyhydramnios
-Macrosomia
-Multiple births
-Myoma, pelvic tumors
-ผู้ลอดอ่อนเพลีย ขาดน้ำอาหาร
-ไม่มี Ferguson’sreflex
การวินิจฉัย
แรงดันในมดลูก < 25 mmHg.
Duration < 40 sec
Interval > 3 min
frequency < 3 ครั้งใน 10 min
Intensity + ถึง ++
ผลกระทบ
มารดา
-Prolonged labor
-Dehydration, acidosis
-Exhaustion, fatigue
-Infection
-การใช้สูติศาสตร์หัตถการ
-PPH
ทารก
-Fetal distress
-Birth trauma
-infection
แนวทางการรักษา
1.ให้สารน้ำ
2.พิจารณาให้ oxytocin ถ้าไม่มีข้อห้าม
3.ดูแลไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็ม
4.พิจารณาการคลอดด้วยวิธีที่เหมาะสม
5.เฝ้าระวัง PPH
การพยาบาล
1.กระตุ้นให้ปัสสาวะทุก 2-4 ชั่วโมง
2.ในรายที่ปากมดลูกยังไม่เปิด น้ำคร่ำยังไม่แตก กระตุ้นให้เดินหรือนั้ง
3.ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวและสารน้ำตามแผนการรักษา
1.2 การหดรัดตัวของมดลูกมากกว่าปกติ
Hypertonic uterine dysfunction
มดลูกหัดรัดตัวถี่ แรงแต่ไม่สม่ำเสมอใยกล้ามเนื้อมดลูกทำงานไม่ประสานกันมดลูกส่วนกลางและล่างหดรัดตัวมากกว่าส่วนบนเกิดจากpsychologicalfactor
การวินิจฉัย
แรงดันในมดลูก ขณะหดรัดตัว >50 mmHg. resting period<2 min. แรงดันในมดลูกขณะคลายตัว >15mmHg.
มีseverepain
ผลกระทบ
มารดา
Birth injuries & laceration
Uterine inversion
Postpartum hemorrhage
Bad experience
Uterine rupture
dead
ทารก
Birth trauma
intracranial Trauma
infection
still birth
fetal distress
การพยาบาล
ประเมิน UC และ FHS
หยุดยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
Sedative drug : pethidine & phenergan
relaxation technigue
นอนตะแคงซ้าย
ให้ oxygen
C/S
1.2.1 มดลูกหดรัดตัวไม่คลาย
Tetanic contraction
Uterine contraction: D>90 I<1
ไม่เกิดกลไก descent
ไม่มีการบางและเปิดของปากมดลูก
ผู้คลอดปวดมาก
เสี่ยงต่อมดลูกแตก
1.2.2 มดลูกหดรัดตัวไม่ประสานกัน
In coordination contractions
มดลูกหดรัดตัวแรงที่ส่วนกลางและส่วนล่าง มากกว่าส่วนบน
ระยะพักมดลูกจะคลายตัวไม่เต็มที่
ผู้คลอดเจ็บครรภ์ตลอด
ไม่มีความก้าวหน้าในการคลอด
1.2.3 มดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวน
Constriction ring
Braun’s ring
รอยคอดเกิดทุกส่วนของมดลูก
มองไม่เห็นทางหน้าท้อง
มดลูกไม่แข็งเกร็ง
ผู้คลอกไม่เจ็บมาก
บรรเทาด้วยยา
Bandl’ ring
รอยคอดเกิดระหว่างกล้ามเนื้อมดลูกส่วนบนและล่าง
มองเห็นได้ทางหน้าท้อง
มดลูกแข็งเกร็ง
ผู้คลอดเจ็บมาก
ต้องทำ C/S ทันที
สาเหตุและปัจจัย
CPD
Past history of repeat uterus infection
Abortion
Abruptio placentae
Induction of labor
2.แรงเบ่งของมารดา
Maternal force
สาเหตุและปัจจัย
Absent urge to push
Incorrect pushing technique
Maternal exhaustion
fear
มี pathological disease
1st stage of labor
จะเกิด cervical edema
2nd stage of labor
จะเกิด Prolonged 2nd stage
ผลกระทบ
มารดา
Cervical edema
Prolonged 2nd stage
Fatigue
infection
F/E or C/S
PPH
Bed experience
ทารก
Fetal distress
birth trauma
intracranial trauma
การพยาบาล
Correct pushing technique
Right position
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที
ประเมินประสิทธิภาพการเบ่งคลอด
ประเมินความกา้วหนา้ของการคลอด
ดูแลความสุขสบาย
Abnormal passage
ความผิดปกติของช่องทางคลอด
Bony passages
1.ทางเข้าช่องเชิงกรานแคบ
Pelvic inlet contractions
Anteroposterior
10.5(<10)
Transverse 13.5(<12)
แนวทางการรักษา
เฝ้าระวัง CPD
tetanic contraction
เฝ้าระวัง Uterine rupture
fetal distress
พิจารณา C/S
2.ส่วนกลางของเชิงกรานแคบ
Midpelvic contractions
Interspinous diameter 10.5 (<9)
ไม่เกิดกลไก internal rotation
คลำพบ ischial spine ยื่นนูนด้านข้างของ pelvic สอบนูนเข้าหากัน
Transverse arrest of head
แนวทางการรักษา
หลีกเลี่ยงยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
พิจารณาใช้สูติศาสตร์หัตถการ
3.ทางออกของช่องเชิงกรานแคบ
Pelvic outlet contractions
Intertuberous diameter 10 (<8) subpubic angle >90 (<85)
เมื่อ fullydilated ขณะผู้คลอดเบ่งศีรษะทารกจะมีการเคลื่อนต่ำแต่เมื่อหยุดเบ่งศีรษะทารกจะถอยกลับ
แนวทางการรักษา
ท่าผู้คลอด C shape position
อาจจะตัดฝีเย็บให้ก้างขึ้น เพื่อลดการฉีกขาด
4.ช่องเชิงกรานผิดปกติทุกส่วน
General pelvic
อาจเกิดจาก pelvic หักหรือเบี้ยว
เน้นการซักประวัติการได้รับอุบัติเหตุ
ช่องเชิงกราน
ผลกระทบ
มารดา
Prolonged & Protracted labor
PROM
infection
tetanic contractions
pelvic floor injury
fatigue
bad experienced
ทารก
Caput succedaneum
scalp necrosis
Intracranial hemorrhage
birth injury
แนวทางการรักษา
ประเมินลักษณะช่องเชิงกราน
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
C/S
Soft passages
1.ความผิดปกติของปากช่องคลอด
การตีบแคบของปากช่องคลอด
ฝีเย็บแข็งตึง
ปากช่องคลอดบวมหรือมีก้อน
การอักเสบหรือเนื้องอก
3.ความผิดปกติของปากมดลูก
ปากมดลูกตีบหรือแข็ง
ปากมดลูกบวม
มะเร็งปากมดลูก
4.ความผิดปกติของมดลูก
มดลูกคว่ำหน้า anteflexion
มดลูกคว่ำหลัง retroflexion
มดลูกหย่อน prolapsed uterus
เนื้องอกมดลูก myoma
2.ความผิดปกติของช่องคลอด
ช่องคลอดตีบ vaginal stenosis
ช่องคลอดมีผนังกั้น septate vaginal
เนื้องอก
5.ความผิดปกติของรังไข่
มีก้อนเนื้องอกที่รังไข่
ผลกระทบ
Prolonged labor
การพยาบาล
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
เตรียมพร้อมในรายพิจารณาใช้สูติศาสตร์หัตถการ
เฝ้าระวัง PPH
Abnormal passenger
ความผิดปกติของทารกในครรภ์
1.Abnormal presentation
ความผิดปกติของส่วนนำ
Breech presentation
-frank breech
-incomplete breech
-complete breech
การวินิจฉัย
การตรวจ Leopold maneuver Per vaginal examination Ultrasonography*
ผลกระทบ
มารดา
PROM
Prolonged labor
ทารก
Prolapsed cord
Fetal distress
Birth injury
แนวทางการรักษา
GA < 32 wk. ทารกจะหมุนกลับศีรษะเอง
หลัง GA 32 wk.ทำ U/S ยื่นยันท่าทารกในครรภ์
พิจารณาทำ External cephalic version
ช่วยแพทย์ทำคลอดท่าก้น
C/S ในกรณีมีข้อบ่งชี้
Shoulder presentation หรือ transverse lie
การวินิจฉัย
การตรวจ Leopold maneuver Per vaginal examination Ultrasonography*
ผลกระทบ
PROM Prolonged labor
แนวทางการรักษา
External cephalic version & C/S
ทารกมีส่วนนำร่วม compound
การมีส่วนของแขน มือ ขา ยื่นลงมาพร้อมกับส่วนนำอื่นของทารก
2.Abnormal position
ความผิดปกติเกี่ยวกับท่าทารก
Occiput posterior position OPP
ส่วนนำเป็นศีรษะ แต่ท้ายทอยอยู่หลังช่องเชิงกราน
ผลกระทบ
มารดา
ผู้คลอดเจ็บมาก
อยากเบ่งเมื่อปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
ทารก
Fetal distress
ศีรษะ มี caput succedaneum
เกิดเลือดออกในสมองได้
Persistent occiput posterior position: POPP
ท่าท้ายทอยคงอยู่ด้านหลัง
ผลกระทบ
มารดา
ผู้คลอดเจ็บมาก
ทารก
Fetal distress
Ociput transverse position OTP
ท่าท้ายทอยอยู่แนวขว้าง
คือ sagittal sutures ของศีรษะอยู่ในแนวขว้างท้ายทอยอยู่ด้านข้าง
ผลกระทบ
มารดา
ผู้คลอดเจ็บมาก
ทารก
Fetal distress
3.Abnormal attitude
ความผิดปกติเกี่ยวกับทรงทารก
Bregma presentation
ทารกมีขม่อมหน้าเป็นส่วนนำ
คลอดได้เองแต่อาจใช้เวลานาน
Brow presentation
ทารกมีหน้าผากเป็นส่วนนำ
พิจารณา C/S
Face presentation
ทารกใช้หน้าเป็นส่วนนำ
พิจารณา C/S
4.Abnormal asynclitism
การตะแคงศีรษะ โดยเอาส่วน parietalbone เป็นส่วนนำเข้าสู้ช่องเชิงกราน
Anterior asynclitism Naegele’s obliquity
Posterior asynclitism Litzmann’s obliquity
ผลกระทบ
Dystocia
obstruct
Abnormal development of fetus
ทารกในครรภ์มีภาวะเจริญเติบโตผิดปกติ
Macrosomia
ทารกตัวโต
ผลกระทบ
Shoulder dystocia
injury
PPH
Hydrocephalus
ทารกหัวบาตร
เจาะดูดน้ำในศีรษะออก
C/S
Anencephaly
ทารกไม่มีเนื้อสมอง
Prolonged labor
bad experience
Large fetal abdomen
ทารกท้องใหญ่
เจาะดูดน้ำในท้องออก
C/S