Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 3
การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยทางการส่งเสริมฯ
วัตถุประสงค์ กิจกรรม และข้อควรปฏิบัติในการทบทวนวรรณกรรม
วัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรม
เพื่อสร้างความมั่นใจให้ผู้วิจัยว่ามีความรู้อย่างดีในเรื่องที่จะทำวิจัย
เพื่อหลีกเลี่ยงการวิจัยซ้ำกับผู้อื่น
เพื่อกำหนดขอบเขตและเลือกปัญหาการวิจัยที่มีประโยชน์และมีความทันสมัยทางวิชาการ
เพื่อกำหดนกรอบแนวคิดการวิจัยและสมมติฐานการวิจัย
เพื่อออกแบบการวิจัยและเลือกใช้การวิจัยที่เหมาะสม
กิจกรรมในการทบทวนวรรณกรรม
การค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การนำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ข้อควรปฏิบัติ
ทบทวนวรรณกรรมตลอดกระบวนการวิจัย
ทบทวนวรรณกรรมอย่างมีเป้าหมาย
สืบค้นจัดหาวรรณกรรมจากแหล่งสารสนเทศทุกช่องทาง
ความทันสมัยหรือเป็นปัจจุบัน
ทำการคัดสรร จัดหมวดหมู่ วิเคราะห์ และสังเคราะห์
อ้างอิงวรรณกรรมอย่างถูกต้องและเหมาะสม
ความหมาย และความสำคัญของการทบทวนวรรณกรรม
ความหมาย การทบทวนวรรณกรรมเป็นการศึกษาค้นคว้ารวบรวมและประมวลผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับเรื่องหรือประเด็นที่ทำการวิจัยฯ ที่ผ่านมาจนถึงงานที่ทันสมัยที่สุดในสาขาวิชานี้
ความสำคัญ
ในการสนับสนุนการดำเนินการวิจัยให้มีประสิทธิภาพ
ช่วยเลี่ยงการวิจัยซ้ำกับผู้อื่น
มองเห็นปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
ช่วยประหยัดเวลา แรงงาน
ช่วยให้งานวิจัยมีคุณค่า น่าเชื่อถือ
กำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย
การเลือกตัวแปร
กำหนดกรอบแนวคิดสมมติฐานของโครงการวิจัย
เลือกวิธีการวิจัย
แนวทางในการจัดทำส่วนอื่นๆของโครงการวิจัย
ในกระบวนการวิจัย
การเตรียมการวิจัย
การดำเนินการวิจัย
รายงานและเผยแพร่ผลการวิจัย
การค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในการวิจัยทางส่งเสริมฯ
ประเภทและขอบเขตของวรรณกรรม
ขอบเขตของการทบทวนวรรณกรรม
เนื้อหาเชิงทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เนื้อหาเชิงเทคนิควิธีการวิจัย
ประเภทของวรรณกรรม
การจำแนกประเภทตามลักษณะของวรรณกรรม
การจำแนกประเภทตามลักษณะของเนื้อหาสาระในวรรณกรรม
การจำแนกประเภทตามลักษณะของการ
ขั้นตอนการค้นคว้าวรรณกรรม
กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตของการศึกษาวรรณกรรม
ระบุวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องและแหล่งวรรณกรรม
สืบค้น/จัดหาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
อ่านและจดบันทึกสาระจากวรรณกรรม
การกำหนดขอบเขตการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศและการระบุแหล่งที่มาในการทบทวนวรรณกรรม
การกำหนดขอบเขต
กำหนดคำสำคัญ
กำหนดประเด็นที่จะทบทวนวรรณกรรม
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
ห้องสมุด สิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์
อินเทอร์เน็ต
แหล่งอื่นๆ เช่น บุคคล หน่วยงาน
การระบุแหล่งที่มาของข้อมูลสารสนเทศ
หนังสือ
วารสาร
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
การนำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในการวิจัยทางส่งเสริมฯ
การนำเสนอวรรณกรรมที่เป็นงานวิจัย
ลักษณะการนำเสนองานวิจัย
1.เขียนในลักษณะพรรณนาตัว แปรที่ศึกษา
2.เขียนในลักษณะระบุความสัมพันธ์หรือความ
หลักการนำเสนอวรรณกรรมที่เป็นงานวิจัย
เขียนให้ตรงประเด็นที่อยู่ในขอบเขตของงานวิจัยที่จะทำ
เขียนในลักษณะเรียบเรียง
จัดหมวดหมู่และระบุชื่อผลงานวิจัยที่นำเสนอในรายงานทบทวนวรรณกรรม
ลำดับเนื้อหาของการเขียนด้วยใจเป็นกลาง
ทำการสรุปเพื่อแสดงตัวแปรที่จะศึกษาและกำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย
การอ้างอิง
หลักการและขั้นตอนการนำเสนอ
ขั้นตอนการนำเสนอวรรณกรรม
ตรวจสอบคุณค่า จัดกลุ่ม วิเคราะห์
กำหนดโครงร่างของรายงานวรรณกรรม
เขียนร่างรายงานวรรณกรรม
ประเมินและปรับปรุง แก้ไขรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
หลักการนำเสนอวรรณกรรม
เหมาะสมกับผู้อ่าน
รายงานตามวัตถุประสงค์งานวิจัย
การวางโครงร่าง
การใช้ภาษาในการนำเสนอรายงานวรรณกรรม
การนำเสนอวรรณกรรมทั่วไป
กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน
เขียนตามโครงสร้างและเชื่อมโยงให้บรรลุเป้าหมาย
การตรวจสอบและปรับปรุงงานเขียน
กำหนดโครงสร้าง
เลือกเนื้อหาสาระที่ตรงประเด็น
คำนึงถึงผู้อ่าน
การอ้างอิง
การจัดลำดับการนำเสนอ
สรุปให้กะทัดรัดชัดเจนและสัมพันธ์เชื่อมโยงกับเรื่องที่จะวิจัย
การประเมินคุณภาพของรายงานวรรณกรรม
คุณภาพของวรรณกรรมที่ไปสืบค้นมานำเสนอในรายงาน
1.ความสอดคล้องของวรรณกรรมกับวัตถุประสงค์หรือปัญหาการวิจัย
2.ความทันสมัย
ความเหมาะสมของสัดส่วนระหว่างวรรณกรรมภาษาไทยกับต่างประเทศ
ความสมบูรณ์ของวรรณกรรม
ความถูกต้องของสาระในรายงาน
ความสามารถและความพยายามของผู้วิจัยในการทำรายงาน
1.การใช้ประโยชน์จากวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.ศักยภาพและความพยายามในการจัดทำรายงานของผู้วิจัย