Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาชีวอนามัย, นางสาวพรหมพร โอภาภิรัตน์ เลขที่52 - Coggle Diagram
อาชีวอนามัย
โรคจากการปุระกอบอาชีพที่พบบ่อย และอยู่ ในข่ายที่ต้องเฝ้าระวัง 11 กลุ่มโรค
1.โรคปอดจากการทำงาน: Silicosis Asbestosis Byssinosis และ Occupational Asthma
2.โรคเหตุจากสภาวะทางกายภาพ เช่น โรคประสาทหูเสื่อม ความกดอากาศอุดตันหลอดเลือดแดง เจ็บป่วย ด้วยความร้อน
4.โรคกระดูกและกล้ามเนื้อ: Low Back Pain
5.โรคพิษจากสัตว์: Anthrax
โรคพิษจากพืช: Farmer's Lung
3.โรคผิวหนังจากการประกอบอาชีพ
7.โรคพิษโลหะหนัก: โรคพิษตะกั่ว โครเมียม สารหนู และแมงกานีส
9.โรคพิษจากก๊าซ: กำมะถันไดออกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์คาร์บอนมอนอกไซด์
สารเคมีจากการเกษตร: ออร์กาโนฟอสเฟต คาร์บาเมต
โรคจากการประกอบอาชีพ หรือสิ่งแวดล้อมอื่น
8.โรคพิษจากสารระเหย และสารทำลาย: เบนซีน และ โทลูอีน
ขอบเขตของงานอาชีวอนามัย
WHO and ILO กำหนด ขอบเขตงานอาชีวอนามัย ไว้ 5 ประการ
1.การส่งเสริม (Promotion)
2.การป้องกัน (Prevention)
3.การปกป้องคุ้มครอง (Protection)
4.การจัดการทำงาน (Placing)
5.การปรับงานและคนให้มีความเหมาะสมกัน(Adaptation)
กฎหมายเกี่ยวกับงานอาชีวอนามัย
พรบ.คุ้มครองแรงงาน
ห้ามผู้หญิงแบกหามเกิน 15 กิโลกรัม หญิงลาคลอดบุตรได้ 98 วัน
ห้ามจ้างงานเด็กต่ากว่า 15 ปี
ทํางานไม่เกิน 8 ชม./วัน หรือ 48 ชม./สัปดาห์ ห้ามหญิงมีครรภ์ทํางานระหว่างเวลา 22.00-6.00น.
ห้ามเด็กต่ากว่า 18 ปี ทํางานระหว่าง เวลา 22.00-6.00น.
จัดให้มีการตรวจสุขภาพให้แก่พนักงาน ลูกจ้าง มีค่าชดเชยกรณีเลิกจ้างงาน
ห้ามเด็กท่างานบนนั่งร้านที่สูงกว่าพื้น ดินเกิน 10 เมตรขึ้นไป
กฎกระทรวง เป็นกฎหมายภายใน พรบ.คุ้มครองแรงงานการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน การตรวจสุขภาพ พนักงาน เน้นจัดสวัสดิการเรื่องการอบรมในการทำงานให้แก่ลูกจ้าง เช่น หลักสูตร การอบรมความปลอดภัยในการทางาน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
พรบ.ประกันสังคม
เงินสมทบกองทุนประกันสังคม ผู้ประกันตน 5% นายจ้าง 5% รัฐบาล 2.75%
ผู้ประกันตนรับสิทธิประโยชน์ 7 กรณี
1) อันตรายและเจ็บป่วยที่ไม่ใช่จากงาน
2) คลอดบุตร
3) ทุพพลภาพ
4) ดาย
5) ชราภาพ
6) สงเคราะห์บุตร
7) ว่างงาน
พรบ.เงินทดแทน พ.ศ2537
เงินสมทบกองทุนเงินทดแทน ผู้ประกันตน นายจ้าง 0.2-1.0% รัฐบาล
ผู้ประกันตนรับสิทธิประโยชน์ 4 กรณี
1) อันตรายและเจ็บป่วยเจ็บป่วยจากงานเกิน 3 วัน
2) การสูญเสียอวัยวะร่างกาย
3) ทุพพลภาพ
4) ตาย หรือสูญหายจากงาน
ความสําคัญของงานอาชีวอนามัย
วัยที่ขับเคลื่อน ประเทศ
การเจ็บป่วยเป็น เรื่องที่ป้องกัน
ได้รับความเป็นธรรม ลดความสูญเสีย ด้านสุขภาพ
เพิ่มผลผลิต
ปัจจัยคุกคามก่ออันตราย ในการประกอบอาชีพ (Hazards)
1.ด้านกายภาพ (Physical Hazards)
แสงจ้า
สั่นสะเทือน
ความร้อน
รังสี
2.ด้านเคมี (Chemical Hazards)
Mercury
Pesticide
Silica
Benzene
3.ด้านชีวภาพ (Biological Hazards)
4.ด้านการยศาสตร์ (Ergonomic Hazards) กายวิภาค สรีระ จิตวิทยา และวิศวกรรม มาปรับงานและสิ่งแวดล้อมให้ เหมาะสมกับผู้ประกอบอาชีพ
ท่าทาง
ซ้ำซาก
เครื่องมือ
การทำงานเป็นกะ
บทบาทพยาบาลชุมชนในงานอาชีวอนามัย จัดการสุขภาพของพนักงาน
ส่งเสริม
ป้องกัน
รักษา
ทคนิคขึ้นไปอย่างน้อย 1 คน,แพทย์ 1 คน บางเวลา/6 ชม.ต่อสัปดาห์
พนักงานมากกว่า 200 คนขึ้นไป : มียา,เวชภัณฑ์,ยาสามัญ,เตียงนอนพัก 1 เตียง,พยาบาล
พนักงานมากกว่า 10 คนขึ้นไป : มียา,เวชภัณฑ์,ยาสามัญ
พนักงานมากกว่า 1,000 คนขึ้นไป : มียา,เวชภัณฑ์,ยาสามัญ,เตียงนอนพัก 2 เตียง,รถพยาบาล, พยาบาลเทคนิคขึ้นไปอย่างน้อย 2 คน,แพทย์ 1 คน บางเวลา/12 ชม.ต่อสัปดาห์
ฟื้นฟู
ปัจจัยการเกิดโรคและอันตราย จากการประกอบอาชีพ
1.ผู้ประกอบอาชีพ (Worker) เช่น ความรู้ เจคติ พฤติกรรมสุขภาพ พฤติกรรมการทำงาน ความชำนาญ
2.สภาพการทํางาน (Working Condition) เช่น ตัวงาน ลักษณะงาน การทำงานแบบซ้ำซาก การ ทำงานเป็นกะ
สิ่งแวดล้อม (Environment เช่น สิ่งแวดล้อมในการ ทำงาน ด้านกายภาพ เคมี ชีวภาพ จิตสังคม การยศาสตร์
อันตรายจากการประกอบอาชีพ
โรคทั่วไป(General Diseases)
โรคที่เกี่ยวเนื่องจาก การทํางาน (Working related Disease)
โรคที่เกิดจากการ ทํางาน (Occupational Diseases)
หลักการป้องกันและควบคุมอันตรายจากสิ่งแวดล้อม
แหล่งกำเนิด
ที่สิ่งแวดล้อมและทางผ่าน
ผู้ปฏิบัติงาน
งานอาชีวอนามัย
หมายถึง งานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม ธำรงไว้ซึ่งสุขภาพทางกาย สุขภาพจิตใจ และสถานะทางสังคมที่ดีงามของผู้ประกอบอาชีพในทุก อาชีพ
งานที่เกี่ยวกับการควบคุมดูแลสุขภาพ อนามัยของผู้ประกอบอาชีพ เกี่ยวกับการป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพ อนามัยให้คงไว้ซึ่งสภาพร่าง กายและจิตใจที่สมบูรณ์ของผู้ประกอบอาชีพ
นางสาวพรหมพร โอภาภิรัตน์ เลขที่52