Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยากรณ์กับการวางแผนการผลิต - Coggle Diagram
บทที่ 4 การพยากรณ์กับการวางแผนการผลิต
การพยากรณ์
การพยากรณ์เชิงคุณภาพ
วิธี Dlephi
ข้อควรระวัง
สิ้นเปลืองเวลา และการแปลความหมายผิดพลาดของผู้ประสานงาน
ข้อดี
ได้ความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชานหลายๆด้าน
การสำรวจความตั้งใจซื้อของตลาด
ข้อดี
เป็นการได้รับข้อมูลของลูกค้าโดยตรง ทั้งความคิดเห็นที่ดี
ข้อควรระวัง
เป็นวิธีใช้ค่าใช้จ่ายสูง และอาจเป็นการรลกวนลูกค้า
การรวบรวมตวามคิดเห็นของผู้บริหาร
ข้อดี
สามารถทำได้รวดเร็ว ใช้ความคิดเห็นของแต่ละฝ่ายไม่ใช่ความคิดเห็นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
ข้อควรระวัง
ไม่สามารถจำแนกยอดขายออกไปตามประเภทของการขายได้
การรวบรวมความคิดเห็นของพนักงานขาย
ข้อดี
สามารถจำแนกยอดขายตามอาณาเขต
การขายได้
ข้อควรระวัง
พนักงานขายอาจไม่แจ้งยอดขายที่ตรงกับความเป็นจริง
การพยากรณ์เชิงปริมาณ
ตัวแบบอนุกรมเวลา
การหาค่าเฉลี่ยนเคลื่อนที่อย่างง่าย
การหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน้ำหนัก
ข้อดี
ให้ความสำคัญกับข้อมูลปัจจุบันมากกว่าข้อมูลออกไป
ข้อเสีย
การตั้งน้ำหนักเป็นเรื่องที่ทำโดยอิสระ และอาจต้องลองผิดลผงถูกกว้าจะได้น้ำหนักที่เหมาะสม
การเปรียบให้เรียบโดยใช้เลขชี้กำลัง
ข้อดี
ง่ายต่อการพยากรณ์และง่ายต่อการเข้าใจ
ข้อเสีย
ข้อมูลทุกจุดมีความสำคัญเท่ากัน
แนวโน้มการฉาย
วิธีปรับให้เรียบแบบเอ็กซ์โปเนนเชียลแบบง่าย
เป็นวิธีการพยากรณ์เฉลี่ยถ่วงนํำาหนักที่ซับซ้อน แต่ง่ายต่อการเข้าใจ
โดยมีค่าถ่วงนํำาหนักหรือสัมประสิทธิ์ปรับให้เรียบ
ข้อดี
เป็นที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากความง่ายในการใช้ และส่วนหนึ่งจากความง่าย
ในการเปลี่ยนการถ่วงนํ้ำหนัก
Linear Trend Analysis
การวิเคราะห์แนวโน้ม ใช้ใน การพยากรณ์ค่าในอนาคตจากแนวโน้มข้อมูลในอตีต
นิยมใช้ในการพยากรณ์ระยะกลาง และระยะยาว
สมการแนวโน้มทางคณิตศาสตร์มีหลายแบบ
ในการที่จะสรุปวาเส้นตรงใดให้ค่าพยากรณ์ที่ดีที่สุดนั้น ขึ้นกับเส้นตรงเส้นใดใกล้เคียงกับข้อมูลในอดีตมากที่สุด
Causal Models
โดยตัวแปรที่ต้องการพยากรณ์จะเรียกว่า ตัวแปรตาม
ส่วนข้อมูลอื่นๆที่สัมพันธ์กบตัวแปรที่ต้องการพยากรณ์ เรียกว่าตัวแปรอิสระ
โดยตัวแบบความสัมพันธ์ที่จํากล่่่าวถึง คือ การวิเคราะห์การถดถอยสัมพันธ์
ตัวแบบความสัมพันธ์ จะพิจารณาข้อมูลเชิงปริมาณในช่วงเวลาเดียวกัน
ตัวแบบเหตุผล
เป็นการวิเคราะห์ว่า ถ้าตัวแปรอื่นที่ไม่ใช่เวลาเปลี่ยนแปลงไป จะทำให้ยอดขายเป็นอย่างไร
ลักษณะของอนุกรมเวลา
แนวโน้ม
การแปรผันตามฤดูกาล
การผันแปรแบบผิดปกติ
การแปรผันตามวัฏจักร
เหตุเหนือคาดหมาย
การวางแผนการผลิต
การวางแผนกำลังการผลิตกับยอดขาย
ตัวแบบในการวางแผนกำลังการผลิต
ความแม่นยำและการควบคุมการพยากรณ์
ค่าเฉลี่ยขอความคาดเคลื่อนทั้งหมด
MAD=∑l ค่าจริง –ค่าพยากรณ์l/n
ค่าเฉลี่ยของความคาดเคลื่อนกำลังสอง
MSE =∑l ค่าจริง −ค่าพยากรณ์l 2/n-1
การวางแผนกำลังการผลิต
ความหมายของการวางแผนกําลังการผลิต
กําลังการผลิตที่เกิดขึ้นจริง
ผลผลิตที่ใช้ได้จริง
กําลังการผลิตตามแผน
ผลิตผล ผลิตภาพ หรือการเพิ่มผลผลิต
ขั้นตอนการวางแผนการผลิต
การพยากรณ์ยอดขายหรือพยากรณ์อุปสงค์
การหากาลังการผลิตที่มี
การกาหนดแนวทางจัดหากำลังการผลิตขึ้นมาเป็นทางเลือก
การวิเคราะห์ผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจของทางเลือกต่างๆ
การตัดสินใจนําเอาทางเลือกไปปฏิบัติ
การวิเคราะห์ความเสี่ยงและผลกระทบเชิงยุทธศาสตร์ของทางเลือกต่างๆ
วัตถุประสงค์และขอบเขตของการวางแผนรวม
การวางแผนรวมให้ความสนใจอยางยิ่งเกี่ยวกับความสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน
การวางแผนรวมถึงการคํานึงปริมาณและเวลาของอุปสงค์ที่คาดการณ์ไว้
ข้อมูลที่จําเป็นสํา
หรับการวางแผนรวม
การพยากรณ์อุปสงค์
นโยบายเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
การทํางานล่วงเวลา
การเปลี่ยนแปลงของสินค้าคงคลัง
การจ้างภายนอก
การจัดส่งล่าช้า
ทรัพยากรที่มีอยู่
อัตราแรงงาน/การผลิต
สถานที่ปฏิบัติการและเครื่องมือ
ต้นทุน
การจัดส่งล่าช้า
การว่าจ้าง/การให้ออกจากงาน
ต้นทุนการเกบรักษาสินค้าคงคลั
การทํางานล่วงเวลา
การวางแผนกําลังการผลิตกับยอดขาย
กรณียอดขายมีการเคลื่อนไหวขึ้นลงไม่สมํ่าเสมอ
กรณียอดขายกับกำลังการผลิตไม่เท่ากัน
กรณีเปลี่ยนแปลงกำลังการผลิตในระยะยาว
ตัวแบบในการวางแผนกําลังการผลิต
ทฤษฎีการตัดสินใจ
การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่มีความเสี่ยง
การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน
การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอน