หน่วยที่ 5 ตัวแปร ประชากร เเละกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร

ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนากรเกษตร

ตัวแปรในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร

ประเภทและที่มาของตัวแปร

การนิยามและการวัดตัวแปร

ความหมายเเละความสำคัญของตัวแปร

การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง

เเนวคิดเกี่ยวกับประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ตัวแปร หมายถึง คุณลักษณอย่างใดอย่างหนึ่งที่ผู้วิจัย สนใจ เป็นลักษณะที่วัดจากสิ่งที่วิจัย

ความสำคัญของตัวแปร

ตัวแปรเป็นองค์ประกอบที่สำคัญและถูกนำมาแสดงความเชื่อมโยงกันในกรอบเเนวคิดการวิจัย

ตัวแปรถูกนำมากำหนดเป็นสมมติฐานการวิจัย

ตัวเเปรเป็นตัวเชื่อมโยงกับเเนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย

ตัวแปรช่วยให้สามารถวัดและทดสอบได้

ระดับการวัดตัวแปรมีความสำคัญต่อการวิเคราะห์ข้อมูล

ตัวแปรที่ชัดเจนนำไปสู่คำตอบของข้อความรู้หรือปัญหาที่ชัดเจนได้

ประเภทของตัวเเปร

ที่มาของตัวแปร

จำแนกตามการให้ความหมายเชิงนโยบาย

จำเเนกตามคุณสมบัติของค่าตัวแปร

จำเเนกโดยพิจารณาความต่อเนื่องของค่าตัวแปร

จำเเนกตามความสัมพันธ์รหว่างตัวแปรในเชิงเหตุและผล

ตัวแปรมาตรฐาน

ตัวแปรเชิงนโยบาย

click to edit

click to edit

ตัวแปรเชิงปริมาณ

click to edit

ตัวแปรเชิงคุณภาพ

click to edit

ตัวแปรต่อเนื่อง

click to edit

ตัวแปรไม่ต่อเนื่อง

click to edit

ตัวแปรอิสระ/ตัวแปรต้น

ตัวแปรตาม

click to edit

ตัวแปรแทรกซ้อนหรือตัวแปรเกิน

click to edit

ตัวแปรแทรก

click to edit

ตัวแปรมาก่อน

ตัวเเปรกด

click to edit

ศึกษาจากงานวิจัยราเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา

รวบรวมจากข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์

ศึกษาจากแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา

นิยามตัวแปร

การวัดตัวแปรกำหนดกิจกรรม แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ

กำหนดตัวแปรของการวิจัย

นิยามเชิงปฏิบัติการ

นินามในรูปแบบแนวคิด

การวัดตัวแปรหมายถึงกระบวนการแปรสภาพข้อความคิดหรือแนวคิด ซึ่งมีลักษณะเป็นนามธรรมให้เป็นข้อมูลทางสถิติเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ รวมถึงวิธีการต่างๆที่ใช้ในการระบุคุณสมบัติของเเนวคิหรือการนิยามเก็บข้อมูลเเละกฏเกณฑ์ต่างๆที่จะนำจ้อมูลนั้นมาใช้

click to edit

มีารกำหนดกิจกรรม

ไม่มีการกำหนดกิจกรรม

ประภทของการวัดตัวแปร

การวัดทางจิตวิทยา

การวัดทางกายภาพ

ระดับการวัดตัวแปร

การวัดแบบกลุ่มหรือนามมาตร

การวัดแบบจัดอันดับหรืออันดับมาตร

การวัดเเบบช่วงหรือช่วงมาตร

การวัดแบบอัตราส่วนหรืออัตราส่วนมาตร

ประชากร หมายถึง กลุ่มของสิ่งที่ต้องการศึกษาทั้งหมด ซึ่งอาจจะเป็น คน สัตว์ พืช วัตถุ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ ขึ้นกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย

ประชากรมีกลุ่มเดียวหรือหลายกลุ่ม

ประชากรเป็นหน่วยที่อยู่ในระดับเดียวกัน

ประชากรเป็นหน่วยที่อยู่ต่างระดับได้

click to edit

click to edit

click to edit

ประเภทของประชากรในการวิจัย

ประชารที่มีจำนวนจำกัด

ประชากรที่มีจำนวนไม่จำกัด

กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากรซึ่งผู้วิจัยนำมาใช้เป็นตัวแทนของประชากรในการศึกษา โดยนำข้อความจริงที่ค้นพบจากกลุ่มตัวอย่างนี้ไปอ้างอิงเป็นข้อความจริงของประชากร

ความสำคัญของการสุ่มตัวอย่าง

click to edit

ได้ตัวแทนของประชากรที่ศึกษาเพื่อมาตอบคำถามตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัย

การสุ่มตัวอย่างช่วยในการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูล

สามารถนำไปใช้กับการตอบปัญหาการวิจัยได้ทันเวลา

สร้างความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูลได้สูง

การเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างมีรายละเอียดของข้อมูลมาก

ค่าสถิติของกลุ่มตัวอย่าง

ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี

เป็นตัวแทนที่ดีของประชากรจะต้องไม่มีอคติและสามารถนำไปอ้างอิงขยายผลได้

มีลักษณะตรงกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย

มีลักษณะที่มีความำคัญของประชากรที่จะศึกษา

มีขนาดพอเหมาะ

ได้จากการสุ่มโดยวิธีการที่เหมาะสม

การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง

กรณีไม่ทราบจำนวนประชากรเเน่นอน

กรณีทราบจำนวนประชากรเเน่นอน

ใช้เกณฑ์

click to edit

ใช้ตารางสำเร็จ

ใช้สูตรคำนวน

click to edit

click to edit

ขั้นตอนการสุ่มตัวอย่าง

ทำการสุ่มตัวอย่าง

กำหนดขนาดของตัวอย่าง

เลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง

กำหนดหน่วยตัวอย่าง

นิยามประชากร

ศึกษาวัตถุประสงค์ของการวิจัย

วิธีการสุ่มตัวอย่าง

ไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น

ใช้หลักความน่าจะเป็น

simple random sampling

จับฉลาก ตารางเลขสุ่ม

systmatic random sampling

click to edit

stratified sampling

click to edit

cluster sampling

multi-stage sampling

click to edit

การสุ่มตัวอย่างเบบพบโดยบังเอิญ

การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงหรือตมวัตถุประสงค์

กรสุ่มตัวอย่างแบบกำหนดโควต้า