Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีของไลน์นิงเจอร์ - Coggle Diagram
ทฤษฎีของไลน์นิงเจอร์
การนำไปใช้ในกระบวนการวัฒนธรรม
วินิจฉัยการพยาบาล
ใช้มุมมองของผู้รับบริการเป็นหลัก
วางแผนการพยาบาล
กระทำตามความต้องการของผู้ป่วยที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมครอบครัวและเน้นการมีส่วนร่วม
ปฏิบัติการพยาบาล
คำนึงถึงความสอดคล้องกับวัฒนธรรม
และตอบสนองต่อค่านิยม
ประเมินผล
สุขภาพดีหายจากโรคหรือตายอย่างสงบประเมินโดยใช้ผู้ป่วยครอบครัวและการยอมรับของกลุ่มชนเป็นหลัก
ประเมินข้อมูล
ศึกษาวิถีชีวิตและแนวคิดความเชื่อ
ของแต่ละบุคคลเป็นหลัก
สมรรถนะทางวัฒนธรรม
(CAMPINHA - BACOTE,2002 )
1) การตระหนักรู้ทางวัฒนธรรม
2) องค์ความรู้ทางวัฒนธรรม
3) ทักษะทางวัฒนธรรม
4) การมีปฏิสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรม
5) ความปราถนาที่จะมีสมรรถนะวัฒนธรรม
องค์ประกอบของนโนทัศน์พื้นฐานการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
บุคคล :
ปัจเจกบุคคล กลุ่ม หรือชุมชน แบบแผนการดำเนินชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพแตกต่างกัน
สิ่งแวดล้อม :
ทางด้านกายภาพ ทางด้านสังคม และทางด้านวัฒนธรรม
สุขภาพ :
การผสมผสาน การตอบสนอง ความเจ็บป่วยการให้คุณค่าทางวัฒนธรรม
การพยาบาล :
การพยาบาลแบบองค์รวม
( กาย จิตใจ สังคม จิตวิยญาณ ) ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของเลนินเจอร์
1 ระบบการดูแลพื้นบ้าน
(folk / indigenous or naturalistic lay care system )
2 ระบบการดูแลสุขภาพเชิงวิชาชีพ
(professional health care system )
ทฤษฎีการพยาบาลข้ามวัมนธรรมของเลนินเจอร์
การดูแลมี 2 รูปแบบ
1.รูปแบบการดูแลเชิงวัฒนธรรม ( cultural care model )
รูปแบบการดูแลที่เน้นสมมรรถนะทางวัฒนธรรมของเคมพินฮา (cultural competence )