Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Classical Economic Thought - Coggle Diagram
Classical Economic Thought
บริบททางสังคมและเศรษฐกิจ ปลายศตวรรษที่ 18 –ต้นศตวรรษที่ 19
การเพิ่มขึ้นของประชากร
ที่ดินมีจํากัด
Corn Laws(1815–1846)
ความขัดแย้งระหว่างชนชั้น
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
David Ricardo (1772 –1823)
ให้ความสนใจเกี่ยวกับการกระจายผลตอบแทนให้กับเจ้าของปัจจัยการผลิต
The Principles of Political Economy and Taxation(1817)
แนวคิดที่สําคัญ
Labor Theory of Value
แนวคิดเดียวกับAdamSmith
แยกสินค้าเป็น
Reproducible goods : สินค้าทั่วไปในสังคม
Exchange valueกําหนดโดยปริมาณแรงงานอันจําเปนในสังคม
มีจํานวนมากในสังคม
Non-reproducible goods : สินค้าที่หาได้ยาก
มีจํานวนน้อย
Exchange value ไม่ขึ้นกับจํานวนแรงงาน
ขึ้นกับความต้องการของผู้ที่อยากได้
Reproducible goods
ในระยะยาว
Exchange Value= Natural price = มูลค่าของแรงงาน
Distribution
ทฤษฎีค่าจ้าง
ในระยะยาว Market wage จะปรับเข้าสู่ Natural wages
ค่าจ้างแรงงานในระยะยาวกําหนดโดยNatural wages
ในระยะสั้น : Market wage กําหนดโดยอุปสงค์-อุปทานแรงงาน
Natural wages = Subsistence wages
ทฤษฎีค่าเช่า
ถ้าความต้องการใช้ที่ดินต่ําและมีเหลือเฟือ
ไม่มีค่าเช่า
ความอุดมสมบูรณ์ของที่ดินแตกต่างกันทําให้เกิดค่าเช่า
ที่ดินเป็นสิ่งให้เปล่าจากธรรมชาติ
อธิบายถึงสาเหตุที่ค่าเช่าสูงขึ้น
Differential Rent
นายทุน (Productive class) เสียประโยชน์
การขยายการผลิตทําให้ กําไรลดลงจนเท่ากับ “ศูนย์”
Stagnation ภาวะชะงักงันทางเศรษฐกิจ
การขยายพื้นที่เพาะปลูกเจ้าของที่ดิน (Unproductive class) ได้ประโยชน์มากขึ้น
แก้ปัญหา
ขยายการผลิตไปยังต่างประเทศ
ส่งเสริมการเปิดเสรีทางการค้าระหว่างประเทศ
Theory of Comparative Advantage
ยกเลิกCornLaws
ปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต
ในระยะยาวยังคงเกิด Stagnation
Theory of Comparative Advantage
ใช้ต้นทุนเปรียบเทียบ
ประเทศที่สามารถผลิตสินค้าได้ด้วยต้นทุนเปรียบเทียบที่ต่ํากว่าจะผลิตสินค้านั้นส่งออก
อธิบายว่าประเทศใดควรส่งออกสินค้าใดเพื่อแลกเปลี่ยนกัน
Comparative Advantage
ราคาสินค้าในประเทศถูกลงมีอาหารเพียงพอค่าจ้างถูกลงนายทุนมีกําไรมากขึ้น
Jean-Baptiste Say (1767 –1832)
ชาวฝรั่งเศส
เรียบเรียงเนื้อหาในหนังสือ The Wealth of Nations ใหม่เป็นภาษาฝรั่งเศส
A Treatise on Political Economy (1703)
แนวคิดที่สําคัญ
ในระยะยาวจะไม่มีวิกฤติเศรษฐกิจ
การปรับตัวของตลาด
เกิดประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร
Say’s Law
Supply creats its onw demand
เงินคือสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
Thomas Robert Malthus
An Essay on the Principle of Population(1798)
The Principles of Political Economy(1820)
กเศรษฐศาสตร์คนแรกของโลกที่ได้รับตําแหน่งศาสตราจารย์ทางเศรษฐศาสตร์
แนวคิดที่สําคัญ
การเพิ่มขึ้นของประชากร
ปัญหา
ปริมาณอาหารเพิ่มแบบเลขคณิต (1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, ...)
ผลผลิตทางการเกษตรเป็นไปตามLaw of Diminishing Returns
ประชากรเพิ่มแบบเรขาคณิต (1, 2, 4, 8, 16, 32, 64, ...)
ในระยะยาวเกิดความอดอยาก
แก้ปัญหา
ควบคุมการเพิ่มขึ้นของประชากร
การยับยั้งเชิงสัจจะ : ความอดอยากโรคระบาดสงคราม
การยับยั้งเชิงป้องกัน : การควบคุมจิตใจเช่นชะลอการแต่งงาน
งด/ยกเลิกการช่วยเหลือคนจน
ทฤษฎีค่าเช่า
ค่าเช่า (มูลค่าส่วนเกินของสินค้า)
ที่ดินอุดมสมบูรณ์ให้ผลผลิตมาก
ผลผลิตมากกว่าค่าจ้างพอยังชีพ
ที่ดินอุดมสมบูรณ์ขาดแคลน
ราคาสินค้าสูงกว่าต้นทุน (ค่าจ้าง+กําไร)
ทฤษฎีค่าจ้าง
Real Wages
Subsistence Wages
The Iron Law of Wages
Effective Demand
ถ้านายทุนไม่นําเงินออมมาลงทุนทั้งหมดจะเกิดอะไรขึ้น
Insufficient demand
นายทุนไม่นําเงินไปลงทุนทั้งหมด
แรงงานได้ค่าจ้างแค่พอยังชีพ
การลดการจ้างงาน
Stagnation
สินค้าท่วมตลาด (General Glut)
Effective Demand< Supply
จะกระตุ้น Effective Demand อย่างไร
เพิ่มการจ้างงานในภาครัฐให้มากขึ้น
ไม่ควรยกเลิกCorn Laws
เลือกผลิตสินค้าที่ตรงกับรสนิยมของผู้ที่มีรายได้สูง
John Stuart Mill (1806 –1873)
อังกฤษ
Principles of Political Economy with Some of Their Applications to Social Philosophy(1848)
แนวคิดที่สําคัญ
เสนอให้ปรับปรุงการกระจายความมั่งคั่งให้มีความเท่าเทียมมากขึ้น
ปรับระบบภาษีที่ดินภาษีมรดกการปฏิรูปที่ดิน
ให้ความสําคัญกับอุปสงค์
มีส่วนในการกําหนดราคาสินค้า
ราคาไม่ได้ขึ้นอยู่กับอุปทานเพียงด้านเดียว
แยกทฤษฎีการกระจายผลตอบแทนกับทฤษฎีการผลิต