Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Classical Economic Thought - Coggle Diagram
Classical Economic Thought
บริบททางสังคมและเศรษฐกิจ
ศตวรรษที่18 -19
England
นช่วงของการปฏิวัติอุตสาหกรรม
ประเทศแรกที่เข้าสู่ “ทุนนิยม” (ค.ศ.1780 –1800)
โดยเฉพาะการผลิตสินค้าในระบบโรงงาน
ผลจากเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในอุตสาหกรรมการทอผ้า
ผู้หญิงและเด็กจําเป็นต้องออกไปทํางานรับจ้างตามโรงงานต
บางโรงงานยังลดค่าจ้างโดยใช้แรงงานหญิงและเด็ก
แบ่งชนชั้นที่เกิดขึ้นเป็น 3 ชนชั้น (Social Classes)
Productive Classes
ชนชั้นนายทุน(Capitalist), กระฎุมพีอุตสาหกรรม
ผลตอบแทนคือ กําไร
ชนชั้นแรงงาน(Workers)
รับค่าตอบแทนคือ ค่าจ้าง
Unproductive Classes
ชนชั้นขุนนาง(Nobles)
กลุ่มผูกขาดที่ดิน (Monopoly)
ได้รับค่าเช่า
Adam Smith (1723 –1790)
สกอตแลนด์
ผลงาน
The Theory of Moral Sentiments (1759)
An Inquiry into the Nature and Causes of the Wealth of Nation (1776)
รับแนวคิดจาก
Bernard Mandeville(1670–1733): Physician
The Fable of the Bees
ผึ้งทํางานหนักและยอมเสียสละเพื่อส่วนใหญ่
Adam Smith
ต้องทําตรงข้าม
แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวเพื่อนําไปสู่ผลประโยชน์ส่วนรวม
Self Interest
David Hume(1711 –1776) : Philosopher
แนวคิดเกี่ยวกับปริมาณเงินกับการค้าระหว่างประเทศและราคาสินค้าในประเทศ
ไม่เห็นด้วยกับนโยบายเกินดุลการค้า
ควรปล่อยให้เป็นไปตามกลไกตลาดรัฐไม่ควรเข้าไปแทรกแซง
Free Market
François Quesnay (1694–1774 ) : Physiocrats
Laissez Faire
การใช้แรงงานร่วมกับที่ดินทําให้เกิดผลผลิตส่วนเกิน (net product)
Natural order
แนวคิดที่สําคัญ
Invisible Hand
การทํางานตามธรรมชาติของสังคม
การแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว(Self Interest) ได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้โดยไม่ทําลายหรือละเมิดหลักของความเป็นธรรม (Public Interest)
Wealth of Nation
Wealth
มาจากการผลิตสินค้าและบริการโดยทั่วไปในทุกภาคเศรษฐกิจ
ผลผลิตได้มาจากการใช้แรงงานร่วมกับปัจจัยการผลิตอื่นๆ
Money: Medium of Exchange
Division of Labor
จะใช้ “แรงงาน” อย่างไรให้เกิดประสิทธิภาพ
ส่งเสริมความชํานาญในการผลิต
แลกเปลี่ยนสินค้า
การขยายตัวของตลาด
แบ่งงานกันทําในระดับประเทศ
Absolute Advantage Theory
ชํานาญสิ่งใดผลิตสิ่งนั้น(ต้นทุนการผลิตต่ํา)
สนับสนุนการค้าเสรี
เปิดตลาดสู่ต่างประเทศ
Saving and Capital Accumulation
การแลกเปลี่ยนสินค้าในตลาดที่ขยายตัวใหญ่ขึ้นและรัฐไม่เข้ามาแทรกแซง (Laissez-faire or Free Market)
ทุกคนในสังคมอยู่บนหลักของผลประโยชน์ส่วนตัว (Self Interest)
เกิดการแข่งขันสมบูรณ์
ทำให้ผู้ผลิต (นายทุน) และแรงงานแต่ละคนมีรายได้เพิ่มขึ้น
การแบ่งงานกันทํา
การแลกเปลี่ยนผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้น
ถ้าเก็บส่วนหนึ่งไว้เป็นเงินออม
งทุนเพื่อสร้างความมั่งคั่งขึ้นในแต่ละคนได้ (การสะสมทุน)
จ้างแรงงานเพิ่มขึ้น
ายได้ของคนในประเทศสูงขึ้น
ความมั่งคั่งของชาติ
Value and Price
Use Value
ขึ้นอยูjกับประโยชน์ที่ได์รับจากการใช้
Exchange Value
อํานาจซื้อของสิ่งของนั้นว่าแลกเปลี่ยนกับสิ่งอื่นได้มากหรือน้อยเพียงใด
ปัญหาเรื่องของคุณภาพของแรงงาน
ปัจจัยการผลิตไม่ได้มีแค่แรงงาน (ที่ดินแรงงานทุน)
กําหนดโดยจํานวนแรงงานที่ใช้ในการผลิต
Market Price
ราคาที่ใช้จ่ายในการทําธุรกรรม
ขึ้นกับDemand / Supply
ราคาในระยะสั้น
Natural Price
ไม่เปลี่ยนแปลง
ผลรวมของต้นทุนที่จ่ายให้ปัจจัยการผลิต
มูลค่าสินค้าในระยะยาว
การแข่งขันเสรี
Equilibrium
Role of State
Minimum State
ป้องกันประเทศมิให้ถูกรุกรานจากภายนอก
จัดหาสินค้าสาธารณะที่มีผลกระทบภายนอกอย่างกว้างขวาง
ป้องกันการผูกขาดและรักษาบรรยากาศการแข่งขัน
รักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ