Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 การกำหนดโจทย์และสมมติฐานการวิจัยการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่ 2 การกำหนดโจทย์และสมมติฐานการวิจัยการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การดำเนินการตามกระบวนการพื้นฐานของการขับเคลื่อนหลักในการกำหนดโจทย์ในการวิจัย
กระบวนการสำคัญในการขับเคลื่อนการวิจัยเพื่อให้เห็นทิศทางและแนวทางการตอบโจทย์
การตั้งคำถามในการวิจัย
การกำหนดจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ในการวิจัย
การกำหนดความสำคัญของปัญหาในการวิจัย
ความสำคัญของโครงการ
ที่มาและเหตผลของการวิจัย
มีประด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดขอบเขตของกรวิจัย
การกำหนดคำนิยามเชิงปฏิบัติการ
ประโยชน์จากงานวิจัย
เกิดประโยชน์เเก่ใคร
มีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติเต็มที่ในทุกเรื่องที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบโครงสร้างของข้อมูล การกำหนดกรอบความคิดและสมมติฐาน
กรอบเเนวคิดการวิจัย
แบบจำลองที่เกิดจากการสังเคราะห์
มีแนวคิดที่เป็นองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง
เเนวคิดของกระบวนการที่ทำให้มีการใช้ให้เกิดผลในกรขับเคลื่อนการวิจัยอย่างมีระบบ
กรอบเเนวคิดแบบจำลองในการวิจัย
กรอบเเนวคิดสมมติฐานการวิจัย
การกำหนดสมมติฐาน
องค์ประกอบพื้นฐานสมมติฐานในการวิจัยเชิงปริมาณ
องค์ประกอบื้นฐานสมมติฐานในการวิจัยเชิงคุณภาพ
แหล่งที่มาการก่อตั้งสมมติฐาน
ภาพรวมการตั้งสมมติฐาน
จำนวนสมมติฐานที่จะตั้ง
แนวคิดในการตอบโจทย์ เงื่อนไข พื้นฐานสำคัญเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนหลัก
การเลือกและกำหนดหัวข้อในการวิจัย
หัวข้อไม่ซ้ำกับงานวิจัยที่ทำมาก่อน
ความเป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การเลือกหัวข้อที่เหมาะสมหัว
ปรึกษากับผู้รู้หรือผู้ชี้ทาง
ความสำเร็จตามหัวข้อการวิจัยที่กำหนด ขึ้นอยู่กับศักยภาพของผู้ทำการวิจัยอย่างเเท้จริงในการตอบโจทย์
พื้นฐานเเนวคิดขับเลื่อนกระบวนการวิจัย
กลเม็ดที่สำคัญในการตอบโจทย์ด้วยคำถามในการวิจัย และประเด็นปัญหาหลักเพื่อการค้นหาสาเหตุของการตอบโจทย์การวิจัยที่เหมาะสม
กำหนดโจทย์ปัญหาการวิจัยให้ถูกต้อง
พื้นฐานเเนวคิดทำให้การตอบโจทย์การวิจัยมีคุณค่าที่สมดุล
มุมมองปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดหัวข้อในการวิจัยที่เหมาะสม
การเข้าใจกรอบของ "เศรฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม" เพื่อกำหนดโจทย์การวิจัย
คุณลักษณะที่สำคัญของนักวิจัยที่ทำให้เกิดการตอบโจย์วิจัยอย่างคุณภาพ
การคำนึงถึงคุณค่างานวิจัย
การพอกพูนความสามารถส่วนตัวในการวิจัยด้วยการปลูกฝัง "อุปนิสัย" ที่จำเป็นต่อความสำเร็จในการวิจัย
คุณลักษณะ
ความเข้าใจองค์ประกอบการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อกำหนดโจทย์การวิจัย
องค์ประกอบของการส่งเสริมการเกษตรเเละพัฒนาการเกษตรเพื่อกำหนดตัวแปรในการวิจัยการส่งเสริมและพัฒนาการกษตร
พื้นฐานการส่งเสริมการเกษตรมีรากฐานมาจากทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลได้ที่พึงปรารถนาและข้อพึงหลีกเลี่ยงในการวิจัยเพื่อการนำการวิจัยไปใช้ให้เกิดผล
แนวคิดสำคัญบางอย่างของกระบวนการวัดผลทั้งเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และอื่นๆ ที่ทำให้การตอบโจทย์ได้ผลที่พึงปรารถนา
กระบวนการในการหาคำตอบที่่ตอบโจทย์เเตกต่างกัน
ปัจจัยนำเข้าที่มีความต้องการที่เตกต่างกัน
การให้ความสำคัญที่ต่างกันของกาารออกแบบโครงสร้างในการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
การวัดทางด้านสังคมศาสตร์ หรือพฤติกรรมศาสตร์
ความตรง ความเที่ยง ของกสสนวิจัยเชิงปริมาณและการตรวจสอบสามเส้าในเชิงคุณภาพ
ความรู้ความจริงที่ได้จากการวิจัย ต้องนไปปรับใช้
ข้อค้นพบใหม่
ทางเลือกใหม่
ผลลัพธ์
องค์ความรู้
ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเเนวคิดในการออกแบบโครงการวิจัย
เน้นระบียบวิธีการทางวิทยาศสตร์และปรัชญา
ความจริง
ความเป็นจริง
ข้อเท็จจริง
ข้อพึงหลีกเลี่ยงในงานวิจัย
Cohort Effect การจัดการปัจจัยที่มีผลต่อแบบจำลองการวิจัยหรือโมเดล
Hawthorne Effect ผลลัพธ์ที่เป็นแบบฟอร์มของการทำงานเชิงรับ
Plagiarism การโจรกรรมทางวรรณกรรม
Third Variable Problem ปรากฏาการณ์ที่อาจเกิดขึ้นเมื่อตัวแปรที่สามไม่ได้ถูกควบคุม
แนวคิดของการออกแบบและการวิเคราะห์การวิจัยเพื่อการตอบโจทย์อย่างมีระบบ
การวิเคราะห์อย่างมีระบบเพื่อตอบโจทย์ด้วยความจริง
แนวคิดการตีความและการสรุปสาระอย่างมีเหตุผลเพื่อสรุปผลการวิจัย
เพื่อตอบโจทย์การวิจัย
การตีความผลการวิจัยเชิงคุณภาพ
การตีความผลการวิจัยเชิงปริมาณ
เเนวคิดการกำหนดระเบียบวิธีการวิจัยเพื่อการตอบโจทย์การวิจัย
แนวคิดของการวิจัยแบบวิธีผสม
แนวคิดของการวิจัยแบบการทดลอง
แนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
แนวคิดการวิจัยประเมินควมต้องการจำเป็น