Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาต่อมไร้ท่อ
DM
อาการและอาการแสดง
เริ่มแรกที่พบบ่อย Triad of DM คือ ปัสสาวะบ่อย ดื่ม น้ํามาก กินจุ และน้ำหนักลด ผู้ป่วยเด็กบางรายมีประวัติ ปัสสาวะรดที่นอนตอนกลางคืน หรือปัสสาวะทิ้งไว้มีมดขึ้น
แนวทางการวินิจฉัยโรคเบาหวาน
1) มีอาการและอาการแสดงของโรคเบาหวาน
2) ตรวจพบระดับกลูโคสในเลือดสูงกว่าปกติกล่าวคือ fasting plasma glucose >126 มก./ดล.
เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะDKA
1) ภาวะน้ําตาลสูงในเลือด
2) ภาวะเลือดเป็นกรด (acidosis)
3) ตรวจพบคีโทนในเลือด
เป้าหมายการรักษาภาวะ DKA
1.แก้ไขภาวะขาดน้ํา
2.แก้ไขภาวะ metabolic acidosis และketosis 3.ลดระดับน้ําตาลในเลือดให้ใกล้เคียงปกติ
หลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาภาวะ DKA 5.ค้นาและรักษาปัจจัยกระตุ้นการเกิดภาวะ DKA
การรักษา
การให้สารน้ำ
การรักษาด้วยอินซูลิน
การรักษาเบาหวานชนิดที่ 1 (T1DM) ในเด็กและวัยรุ่น
ควรจะต้องได้รับการดูแลจากทีมมสหสาขาที่ชํานาญการ ระดับหนึ่ง
ความรู้ด้านอาหาร และการดูแลภาวะจิตใจ
แนะนําเริ่มรักษาด้วยยาฉีดอินซูลินที่ใกล้เคียง
ผู้ป่วยและครอบครัวจําเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับการคํานวณสัดส่วนคาร์โบไฮเดรต
DI
สาเหตุ
การควบคุมปริมาณของปัสสาวะในภาวะปกติจะขึ้นอยู่กับฮอร์โมน ADH (Antidiuretic hormone) หรือมีอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า “เวโซเพรสซิน” (Vasopressin)
อาการของโรคเบาจืด
มีอาการปัสสาวะปริมาณมากและบ่อยครั้ง ร่วมกับกระหายน้ํา ดื่มน้ํามาก และปากมักแห้งอยู่เสมอ
วิธีการตรวจและการคัดกรอง
การสอบถามประวัติอาการประวัติการเจ็บป่วยและการรักษาโรค ต่าง ๆ ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ประวัติการรับประทานยาต่าง ๆ ประวัติการเจ็บป่วยของคนใน ครอบครัว การตรวจร่างกาย การตรวจเลือดดูค่าน้ําตาลในเลือด
การการตรวจเลือดและ ปัสสาวะในภาวะอดน้ํา (Water deprivation test) หรือฉีดฮอร์โมนเอดีเอช (Vasopressin test) กระตุ้นเพื่อดูการตอบสนองของไต
Hypothyroidism
ภาวะนี้เกิดขึ้นได้ทุกกลุ่มอายุในกรณีที่เกิดขึ้นในเด็กเรียกว่า cretinism และในกรณีที่เกิดในผู้ใหญ่ เรียกว่า myxedema
ในทารกแรกเกดิ จะมีอาการซึม ไม่ร้องกวน หลับมาก ต้องคอยปลุกขึ้นให้นม มักมีอาการเสียงแหบ ท้องผูกบ่อย และอาจมีอาการดีซ่านอยู่นานกว่าปกติ เมื่ออายุมากขึ้น เด็กจะมีการเจริญเติบโตช้า ฟันขึ้นช้า ผิวหนังหยาบแห้ง ขี้หนาว กินไม่เก่ง เฉื่อยชา
วิธีการตรวจและการคัดกรอง และการรักษา
การคัดกรอง TSH ในทารกแรกเกิด อายุ 48-96 ชม.
หรือมีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2.5กก. หรือทารกแฝดที่เป็น monozygotic twin ควรทําการ ตรวจคัดกรอง 2 ครั้ง คือ เมื่อแรกเกิด และเมื่ออายุ 2-3 สัปดาห์
ภายในวันเเดียวกันขนาดยา 10-15 ไมโครกรัม/กิโลกรัม/วัน รูปแบบของ ยาเป็นยาเม็ดขนาด50และ100ไมโครกรัมแบ่งยาบดละลายนํ้าปริมาณเล็กน้อยกินวันละ1ครั้ง
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาต่อมไร้ท่อ: DM, DI, Hypothyroidism
ทีมแพทย์ผู้ดูแลรักษา ต้องมีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และเบาหวานในวัยรุ่น
โดยผ่านการอบรมในการดูแลผู้ป่วย
พยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยเบาหวานต้องมีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วย ต้องผ่านการอบรม ความรู้ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และต้องมีการอบรมฟื้นฟูอย่างต่อเนื่อง
นักโภชนาการ หรือนักกําหนดอาหาร จําเป็นต้องมีในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และต้อง ผ่านการอบรมหรือเข้าค่ายเบาหวาน โดยสามารถคํานวณอาหาร พลังงานที่ได้รับกรรมพันธ์กับอินซูลินที่ได้รับ กิจกรรมต่างๆ ของผู้ป่วย
เภสัชกร ต้องมีความรู้เรื่องยาที่ผู้ป่วยใช้ กลไกการฤทธิ์ของยาสูตรในการใช้ยาของแพทย์ ภาวะ อาการและความผิดปกติการใช้ยา