Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CA breast
( stage IIB ), อ้างอิง
ดนัย ดุสรักษ์.(2560) การพยาบาลผู้ป่วยมะ…
CA breast
( stage IIB )
-
-
การตรวจวินิจฉัย
-
ผลการตรวจพิเศษ
•ผลการตรวจ FNA พบ ductal carcinoma
•Mammogram พบ solid mass ขนาด 3 CN at UOQ of LB
•Frozen section พบ malignant tumor stage IIB(T2N1MO)
•CXR : Clear
การตรวจร่างกาย
1.HEEENT พบ dry skin,mild pale
-
-
การรักษา(ผู้ป่วย)
Left MRM with immediate latissimus dorsi flap reconstruction
Order Post-up
- Morphine 3mg IV dilute q 4-6 hr prn for pain (order for one day)
- 5% D/N/2 1000cc IV drip 100 mV/hr
- Soft diet if no nausea & vomiting
- Hct q 12 hrs if <30 vol% notify แพทย์
- Ceftriazone 2 gm IV OD
- Record discharge จาก drain ทุก 8 ชม.
- plan Chemo therapy ภายหลังผ่าตัดแล้ว 2 สัปดาห์
Order for Chemotherapy day 3
- Zofran 8 mg IV dilute q 8 hr for NN
- Adriamycin 500 mg in 5% D/W v drip in 8 hr before 5 FU
- 5% D/N/2 1000cc + 5FU 750 mg IV. drip 100 cc/hr
- Soft diet if no nausea & vomiting
- soft diet, Isolation, if T> 38.5 C ให้ septic work up & noitify
- แพทย์ plan ให้ยาเคมีบำบัด (Chemo therapy) แล้ว D/C ได้
CA stage IIB
ระยะที่ 2 ก้อนมะเร็งมีขนาดระหว่าง 2-5 cm และ/หรือมีการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งไปยังต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้ข้างเดียวกัน
-
ข้อวินิจทางการพยาบาล
หลังผ่าตัด 24 ชม.แรก
1.เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึกทั่วร่างกายหลังผ่าตัด
2.เสี่ยงต่อการเสียเลือดหลังผ่าตัด 24 ชม. เเรก
3.ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัด
-
-
พยาธิสภาพ
เชลล์มะเร็งเริ่มเกิดขึ้นจากเซลล์เยื่อบุผิวชั้นนอกของท่อน้ำนม (epithilium) ทำให้กลุ่มเซลล์บางส่วนมี การเจริญเติบโตผิดปกติ เชลล์มีการแบ่งตัวเพิ่มขึ้น (hyperplasia มีรูปร่างลักษณะของเซลล์ที่ผิดเปลกไปจาก เดิมเปลี่ยนเป็นก้อนเนื้องอก (Atypical ductal lyperplasia) ไม่สามารถควบคุมการเจริญเดิบโตได้ จากนั้น ก็เปลี่ยนเป็นก้อนมะเร็งระยะที่ยังไม่ลุกลามเจริญเติบโตอยู่ในท่อน้ำนม ductal carcinoma in situ ละท้ายสุด จึงเปลี่ยนแปลงเป็น invasive ductal carcinoma สามารถแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกาย
-
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัดแต่พบว่าปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดมะเร็งเต้านม ได้แก่ ความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ ประ วัติคนในครอบครัว ญาติสายตรงเป็นมะเร็งเต้านมมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น อายุเพิ่มขึ้นมี โอกาสที่จะมีความผิด ปกติของยืนในเชลล์เพิ่มขึ้น มีประจำเดือนเร็ว ถึงวัยหมดประจำเดือนช้า ไม่เคยมีบุตร รับประทานหรือใช้ยา ฮอร์โมนคุมกำเนิด เพศชายเป็นมะเร็งเต้านมได้น้อยกว่าเพศหญิง เชื้อชาติผู้หญิงตะวันตกมีความเสี่ยงสูงกว่าผู้ หญิงชาวเอเชีย ประวัติดื่มเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ อ้วนเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ เบาหวาน
อาการและอาการแสดง
มะเร็งเต้านมในระยะแรกอาจไม่แสดงอาการใดๆ มักพบอาการแสดงในระยะหลังๆ ที่พบได้แก่ มีก้อนที่เต้า นม เจ็บหรือปวดที่เต้านม หัวนมถูกดึงรั้ง รอยบุ๋มของผิวหนังบริเวณเด้านม สีหรือรูปร่างของเต้านม เปลี่ยนแปลงไป เลือดออกจากหัวนม เต้านมอักเสบเป็นแผล
การรักษา
การรักษามะเร็งเต้านมใช้ยาเคมีบำบัด (Chemotherapy) เป็นการรักษาโดยการใช้ยาที่มีฤทธิ์ทำลายหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง โดยออกฤทธิ์ทั่วร่างกายต่างจากการผ่าตัดซึ่งให้ผลเฉพาะที่ จึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษามะเร็งเต้านมที่หลงเหลือหรือมีการหลุดรอดไปยังระบบอื่นๆ ช่วยให้มีโอกาสหายขาดและมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น
การรักษามะเร็งเต้านมโดยการฉายแสง (Radiation Therapy) เป็นการรักษาด้วยการใช้รังสีที่มีพลังงานสูงเพื่อหยุดยั้งการเจริญเติบโตและการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง มักใช้การฉายแสงร่วมในกรณีที่ผู้ป่วยผ่าตัดแบบสงวนเต้า หรือผู้ป่วยที่มีมะเร็งลุกลามมาที่ผิวหนังหรือกล้ามเนื้อหน้าอก การฉายแสงโดยทั่วไปจะใช้เวลาประมาณ 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 5 วัน พัก 2 วันเพื่อให้ผิวหนังได้พักและซ่อมแซมส่วนที่ถูกทำลาย เมื่อเริ่มต้นการรักษาแล้วต้องทำต่อเนื่องจนครบกำหนด
การรักษามะเร็งเต้านมโดยการใช้ยาต้านฮอร์โมน (Hormonal Therapy) เป็นการรักษาโดยการให้ยาในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมชนิดที่มีตัวรับฮอร์โมนเพศ ออกฤทธิ์ทำให้เซลล์มะเร็งขาดฮอร์โมนที่เป็นตัวกระตุ้นการเจริญเติบโต ลดอัตราการกลับเป็นซ้ำ โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ยาที่ออกฤทธิ์แย่งจับกับตัวรับฮอร์โมน (Tamoxifen) กลุ่มที่ 2 ยายับยั้งเอนไซม์อะโรมาเตส (Aromatase Inhibitor) ออกฤทธิ์ยับยั้งการผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนได้ผลดีในผู้ป่วยวัยหมดประจำเดือน กลุ่มที่ 3 ยายับยั้งการทำงานของรังไข่ (Ovarian Suppression) ออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของฮอร์โมนเอสโตรเจน/โปรเจสเตอโรนในผู้ป่วยที่ยังมีประจำเดือนอยู่ กลุ่มที่ 4 ยาสลายตัวรับฮอร์โมน (Selective Estrogen Receptor Degrader) ออกฤทธิ์จับกับตัวรับฮอร์โมนเอสโตรเจนทำให้ทำงานไม่ได้
การรักษามะเร็งเต้านมโดยการใช้ยาแบบพุ่งเป้า (Targeted therapy) ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโต และ การแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง โดยการรบกวนการทำงานของโมเลกุลที่มีความจำเพาะต่อการเจริญเติบโตและ การแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง ทำให้เซลล์มะเร็งตายโดยตัวของมันเอง หรือยังสามารถทำให้เซลล์มะเร็งตายทางอ้อมโดยการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันให้มาทำลาย
การผ่าตัด (Surgery)
เป็นการรักษาหลักของการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านม โดยก่อนอื่นต้องทราบความรู้พื้นฐานก่อนว่า เมื่อมีก้อนมะเร็งเต้านมเกิดขึ้น อวัยวะแรกที่เซลส์มะเร็งเต้านมจะกระจายลุกลามไปถึงคือ ต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้ ดังนั้นการผ่าตัดรักษามะเร็งเต้านมจึงต้องผ่าตัดทั้งบริเวณเต้านมและเลาะต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้ออกไปด้วย
การรักษา(ผู้ป่วย)
Left MRM with immediate latissimus dorsi flap reconstruction
Order post-op
-Morphine 3mg IV dilute q 4-6 hr prn for pain (order for one day)
-5% D/N/2 1000cc IV drip 100 mV/hr
-Soft diet if no nausea & vomiting
-Hct q 12 hrs if <30 vol% notify แพทย์
-Ceftriazone 2 gm IV OD
-Record discharge จาก drain ทุก 8 ชม.
-plan Chemo therapy ภายหลังผ่าตัดแล้ว 2 สัปดาห์
Order for Chemotherapy day 3
-Zofran 8 mg IV dilute q 8 hr for NN
-Adriamycin 500 mg in 5% D/W v drip in 8 hr before 5 FU
-5% D/N/2 1000cc + 5FU 750 mg IV. drip 100 cc/hr
-Soft diet if no nausea & vomiting
-soft diet, Isolation, if T> 38.5 C ให้ septic work up & noitifty
-แพทย์ plan ให้ยาเคมีบำบัด (Chemo therapy) แล้ว D/C ได้
อ้างอิง
ดนัย ดุสรักษ์.(2560) การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง.กรุงเทพฯ:บริษัท แดเน็กซ์อินเตอร์ปอเรชั่น จำกัด มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาพยาบาลศาสตร์.(2558).
การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.