Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่3 การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัย ทางส่งเสริม และพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่3
การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัย
ทางส่งเสริม และพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย และความสำคัญของการทบทวนวรรณกรรม
การศึกษา ค้นคว้า รวบรวม และประมวลผลงานทางวิชาการ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องหรือประเด็นที่ทำการวิจัยทางส่งเสริม และพัฒนาการเกษตรที่ผ่านมาจนถึงงานที่ทันสมัยที่สุด
วัตถุประสงค์ กิจกรรม และข้อควรปฏิบัติ
เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจให้ผู้วิจัยว่ามีความรอบรู้เป็นอย่างดีในเรื่องที่จะทำการวิจัย
เพื่อหลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำกับผู้อื่น
เพื่อกำหนดขอบเขตและเลือกปัญหาการวิจัยที่มีประโยชน์และมีความทันสมัยทางวิชาการ
เพื่อกำหนดกรอบแนวคิดการวิจัยและสมมติฐานการวิจัย
เพื่อออกแบบการวิจัยและเลือกใช้วิธีการวิจัยให้เหมาะสม
เพื่อเขียนรายงานการวิจัยที่ดี มีคุณค่า และน่าเชื่อถือ
การค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในการวิจัย
ประเภทของวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การจำแนกตามลักษณะของวรรณกรรม
การจำแนกตามลักษณะของเนื้อหา สาระในวรรณกรรม
การจำแนกตามลักษณะของการจัดทำวรรณกรรม
ขั้นตอนการค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตของการศึกษาวรรณกรรม
ระบุวรรณกรรม ที่เกี่ยวข้องและแหล่งวรรณกรรม
สืบค้น/จัดหาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
อ่านและ จดบันทึกสาระจากวรรณกรรม
เตรียมการวิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรม
ขอบเขตของวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
เนื้อหาเชิงทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เนื้อหาเชิงเทคนิควิธีการวิจัย
การกำาหนดขอบเขต การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ และการระบุแหล่งที่มา
ช่วยประหยัดเวลาและ ค่าใช้จ่ายทั้งนี้ในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากแหล่งสืบค้นสารสนเทศสำคัญ คือ ห้องสมุด อินเทอร์เน็ตและแหล่งอื่นๆนั้น ผู้วิจัยจะต้องระบุแหล่งที่มาสำหรับการอ้างอิง เพื่อการทำ บรรณานุกรมในส่วนท้ายของรายงานผลการวิจัย อีกทั้งยังช่วยให้ง่ายและสะดวกในการสืบค้นต่อไปด้วย
การนำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หลักการการนำเสนอวรรณกรรม
หลักการนำเสนอรายงานที่เหมาะสมกับผู้อ่าน
หลักการนำเสนอรายงานตามวัตถุประสงค์การวิจัย
หลักการวางโครงร่างรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
หลักการใช้ภาษาในการเขียนรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนการนำเสนอวรรณกรรม
ตรวจสอบคุณค่า จัดกลุ่ม วิเคราะห์และสังเคราะห์สาระจากวรรณกรรมที่ได้บันทึกไว้
กำหนดโครงร่างของ รายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
เขียนร่างรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ประเมินและปรับปรุง/แก้ไขรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การนำเสนอวรรณกรรมทั่วไป
กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน
กำหนดโครงสร้างให้ชัดเจน
จัดลำดับ การนำเสนอให้เหมาะสม
เลือกเนื้อหาสาระที่ตรงประเด็นและเหมาะสม
คำนึงถึงผู้อ่านที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย
สรุปให้กะทัดรัด ชัดเจนและสัมพันธ์เชื่อมโยงกับเรื่องที่จะวิจัย
มีการอ้างอิงแหล่งที่มา
มีการตรวจสอบและปรับปรุงงานเขียน
การนำเสนอวรรณกรรมที่เป็นงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เขียนในลักษณะพรรณนาตัวแปรที่ศึกษา
เขียน ในลักษณะระบุความสัมพันธ์หรือความแตกต่างของตัวแปร
การประเมินคุณภาพรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพของวรรณกรรมที่ไปสืบค้นมานำเสนอในรายงาน
ความสามารถและความพยายามของผู้วิจัยในการจัดทำรายงาน