Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน - Coggle Diagram
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
ระดับของโจทย์ปัญหาวิจัย
ศึกษาสภาพของผู้เรียน
วิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาคณิตของนร.ม.4
สำรวจพฤติกรรมการเล่นเกมส์ขณะเรียนคอมของนร.ม.6
วิเคราะห์สาเหตุ / ผลที่เกิด
สาเหตุการส่งการบ้านวิทย์ไม่ตรงเวลา
ปัจจัยที่ส่งผลต่อคะแนนวิชาภาษาอังกฤษของนร.ม.5
พัฒนาวิธีการ / แนวทาง / นวัตกรรม
สร้างแบบฝึกหัดเพื่อพัฒนาทักษะการคำนวนของนร.ป.3
แนวทางเสริมสร้างการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตของนร.ด้วยวิธีจิตปัญญา
ต้องมี 3 อย่าง
กลุ่มเป้าหมาย
สิ่งที่ส่งเสริม
วิธีส่งเสริม
องค์ประกอบ / ลักษณะของการวิจัยในชั้นเรียน
CAR
C = classroom
A = Action
R = research
ลักษณะเฉพาะของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
(Classroom Action Research)
ครูเป็นคนทำวิจัย
หัวข้อวิจัยเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้
หาคำตอบของการศึกษาผลการเปลี่ยนวิธีการเรียนรู้ในการแก้ปัญหา / พัฒนาผู้เรียน
ใช้กบก.วิจัยในการออกแบบกบก. ในการแก้ปัญหา / พัฒนาผู้เรียน
นวัตกรรมที่ใช้พัฒนานร.เป็นสิ่งใหม่ / ประยุกต์ใช้กับวิธีเดิมที่เคยทำอยู่เป็นปกติ
ทดลองนวัตกรรมกับนร.
มีความตรงภายในของการวิจัย
ผลวิจัยก่อเกิดการเรียนรู้ของผู้เรียนและผู้สอน
กบก.วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
ผลลัพธ์การทำวิจัยใในชั้นเรียน
แก้ปัญหาในชั้นเรียน
พัฒนาวิชาชีพครู
ได้วิธี / กิจกรรมในการแก้ปัญหาเหมาะสมกับบริบท
ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
วิธีการแก้ปัญหา => ผล
วิธีแก้ปัญหา
ศึกษาเอกสาร งานวิจัย
ออกแบบวิธีการ / ตัวแปรต้น
นำไปทดลองเพื่อศึกษาผลที่เกิดขึ้น
ผล
ปัญหานร.ได้รับการแก้ไข
นร.ได้รับการส่งเสริมความสามารถ
ลักษณะของวิธีการแก้ปัญหา
มีลักษณะใหม่ (ใหม่เรา เก่าคนอื่นได้)
มีทฤษฎี / เหตุผลสนับสนุน
เหมาะสมกับบริบทของนร.
ตัวอย่างการออกแบบวิธีแก้ปัญหา
วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
เหตุผลในการออกแบบการแก้ปัญหา
กบก.ที่ใช้แก้ปัญหา
องค์ประกอบของวิธีแก้ปัญหา
แนวคิด / ทฤษฎี
หลักการ
วิธี / กบก.
สื่อ / อุปกรณ์
ขั้นตอน
จุดเริ่มต้นของการวิจัย
2. กำหนดคำถามวิจัย
กรอบแนวคิดการวิจัย
แบบแผนการทดลอง
การออกแบบการวิจัย
ตัวอย่าง
6. การนำเสนอผลงานวิจัย
ปัจจัยความสำเร็จของการทำวิจัยในชั้นเรียน
กำหนดปัญหาเหมาะสม
ใช้วิธีแก้ปัญหาที่น่าเชื่อถือ
ดำเนินการอย่างเป็นแบบแผน
วิจัยในชั้นเรียน VS วิจัยเชิงทดลอง
วิจัยเชิงทดลอง
มีกลุ่มตัวอย่าง
มีการสุ่ม
มีสถิติ
มีการควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน