Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง - Coggle Diagram
กำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ข้อมูล
ทุติยภูมิ
ฝากคนอื่นเก็บข้อมูล
ปฐมภูมิ
ผู้ทำเก็บข้อมูลเอง
ประชากร
กลุ่มเป้าหมายของการศึกษาทั้งหมด
Population space
Population Universe = ปชก.ทั้งหมดที่เป็นเป้าหมายศึกษา
Accessible Population = ปชก.ที่นักวิจัยเข้าถึงได้จริง
ตัวอย่างประชากร
จุดเด่น / ข้อจำกัดในการเก็บข้อมูลกับปชก.
จุดเด่น
ได้ข้อเท็จจริง
ความคลาดเคลื่อนไม่ได้มาจากการกำหนดตัวอย่าง
ข้อจำกัด
ใช้เวลาเก็บข้อมูลนาน
ทำได้ยาก
กลุ่มตัวอย่าง
ความหมาย
หน่วยย่อยของประชากร
ตัวอย่างที่ดีควรมีลษณ.คลายคลึงกับบริบทของปชก.
การกำหนดตัวอย่าง
กำหนดขนาดตัวอย่าง
ใช้กฏอย่างง่าย
กำหนดตัวอย่างตามคำแนะนำของผชช.
ข้อเสีย : อำนาจการทดสอบของสถิติสูงเกินจำเป็น / ต่ำกว่าที่กำหนด
ใช้หลักการประมาณค่าสัดส่วนปชก.
คำนวณจากฐานจำนวนประชากร และความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ (ต้องรู้จำนวนประชากร)
ตัวอย่าง
Cochran's Method
สูตรที่ 1
ใช้ในกรณีที่ไม่ทราบสัดส่วนของปชก. แต่คาดว่าปชก. มีขนาดใหญ่
สูตรที่ 2
ทราบจำนวนประชากรแต่ปชก.มีขนาดเล็ก
สูตรที่ 3
ไม่ทราบจำนวณปชก. และต้องการศึกษาเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของปชก.
Taro
คำนวณจากสัดส่วนของปชก. โดยคาดว่าสัดส่วนของลษณ.ปชก.ที่สนใจในปชก.ทั้งหมด = .05 ภายใต้ระดับความเชื่อมั่น 95%
พิจารณาพารามิเตอร์
ขนาดปชก.
ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้
เหมาะกับ
การวิจัยสำรวจสัดส่วนปชก.
เช่น สำรวจความคิดเห็น (กลุ่มเห็นด้วยต่อกลุ่มไม่เห็นด้วย)
รู้ขนาดปชก.ชัดเจน
รูปแบบการได้ตัวอย่างแบบ Simple random sampling
สูตร
Krejcie
คำนวณจากสัดส่วนของปชก. โดยคาดว่าสัดส่วนของลษณ.ปชก.ที่สนใจในปชก.ทั้งหมด = .05 ภายใต้ระดับความเชื่อมั่น 95%
ต้องทราบจำนวนปชก. และความคลาดเคลื่อนที่นักวิจัยกำหนด
ปรับจาก X2 เป็น Z ทำให้สามารถคำนวณตัวอย่างจากปชก.ขนาดเล็กได้
เหมาะกับ
การวิจัยสำรวจสัดส่วนปชก.
เช่น สำรวจความคิดเห็น (กลุ่มเห็นด้วยต่อกลุ่มไม่เห็นด้วย)
รู้ขนาดปชก.ชัดเจน
รูปแบบการได้ตัวอย่างแบบ Simple random sampling
สูตร
ใช้หลักการอิงอำนาจการทดสอบของสถิติ
ประมาณค่าตัวอย่างโดยพิจารณาตามหลัก Power of the test ของสถิติที่ใช้ประมาณค่าพารามิเตอร์ของปชก.
กำหนด Power = 0.95
P x SS x ES
หลักการวิเคราะห์ Power analysis
ระดับนัยสำคัญ (Significance level)
ขนาดอิทธิพล (Effect size)
ระดับความแปรปรวน (Variance)
ขนาดตัวอย่าง (Sample size)
ตัวอย่างคำนวณ n ของ Cohen
กำหนดวิธีการได้มาซึ่งตัวอย่าง
ความน่าจะเป็น
การสุ่ม
สุ่มอย่างง่าย
จับฉลาก
ต้องมีบัญชีรายชื่อปชก.
อย่างมีระบบ
สุ่มสมาชิกที่อยู่ในตน.ตามช่วงการสุ่มที่คำนวณได้
คำนวณช่วงการสุ่ม : N/n
มี / ไม่มี บัญชีรายชื่อของปชก.ก็ได้
แบ่งชั้น
กลุ่มประชาการไม่เท่ากัน
ใช้คำนวณสัดส่วน
แบ่งกลุ่ม
หลายขั้นตอน
ไม่ใช้ความหน้าจะเป็น
การเลือก
บังเอิญ
เลือกตามสะดวก
นิยมใช้กับการสำรวจความพึงพอใจ / ความคิดเห็นทั่วไป
กำหนดโควต้า
เลือกปชก.ออกเป็นส่วน ๆ แล้วกำหนดตัวอย่างให้กับปชก.แต่ละกลุ่ม จากนั้นจึงเลือกตัวอย่างจากประชากรแต่ละกลุ่มโดยไม่มีการสุ่ม
ตัวอย่างเฉพาะเจาะจง
วิจัยเชิงคุณภาพ วิจัยผสมวิธี
สมัครใจ
ตัวอย่างมีความเต็มใจเข้าร่วมการวิจัยด้วยตนเอง
มีกบก.ตรวจสอบคุณสมบัติของอาสาสมัคร
แบบก้อนหิมะ
แนะนำสมาชิกที่เป็นตัวอย่างเรื่องเดียวกันต่อ ๆ กันไป
หลักการออกแบบการกำหนดตัวอย่าง
ตัวอย่างคือใคร
ใช้ตัวอย่างเท่าไหร่
ได้มาด้วยวิธีใด
คำสำคัญ
ช่วงความเชื่อมั่น
ความหมาย
ช่วงคะแนนที่ครอบคลุมพารามิเตอร์ของปชก.
คำนวณ
ค่าสถิติของตัวอย่างที่ได้จากการสุ่มของปชก. + ระดับความเชื่อมันที่กำหนด
ระดับความเชื่อมั่น
ตั้งไว้ที่ 95% = ถ้าสุ่ม 100 ครั้งแล้วมาคำนวณหาช่วง ค่าความเชื่อมันจำไม่ครอบคลุมพารามิเตอร์ 5 ครั้ง
กำหนดตัวอย่างด้วย G*Power
การวิจัยเชิงสำรวจ x วิจัยเชิงทดลอง
การวิจัยเชิงคุณภาพ x CAR
แนวทางการเขียนการวิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์เชิงปริมาณ
ใช้สถิติ
สถิติบรรยาย
สถิติอ้างอิง
วิเคราะห์เชิงคุณภาพ
ใช้สถิติ
ความถี่เหตุการที่น่าสนใจ / คำถามปลายเปิด
ไม่ใช้สถิติ
วิเคราะห์เนื้อหา
วิเคราะห์สาระ
วิเคราะห์วาทกรรม
สร้างทฤษฎีฐานราก
สร้างข้อสรุปแบบอุปนัย