Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจูงใจ - Coggle Diagram
การจูงใจ
สภาวะทางจิตใจที่เกิดขึ้นภายใต้สิ่งกระตุ้นทั้งจากภายในและภายนอก
สิ่งกระตุ้นจะส่งผลต่อพฤติกรรมบุคคลให้กระทำอย่างมีจุดมุ่งหมาย
การจูงใจเป็นแรงผลักดัน ทำให้คนเกิดพลังการทำงาน
การจูงใจมีความสำคัญต่อการนำ
ความต้องการมีผลต่อความรู้สึกอยากทำ พนักงานที่ได้รับการจูงใจเพียงพอ จะทำงานอย่างมีประสิทธิผล
ทฤษฎีการจูงใจ
ทฤษฎีการจูงใจเกี่ยวกับความต้องการ/เนื้อหา
ความต้องการคือสิ่งกระตุ้นให้คนทำงาน จำเป็นต้องรับรู้ความต้องการของบุคคลเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านัั้น
ทฤษฎีความต้องการ Maslow
ต้องตอบสนองความต้องการระดับล่างก่อนที่จะสามารถตอบสนองความต้องการระดับสูงขึ้นได้
ความต้องการที่ได้รับการตอบสนองและพึงพอใจแล้วจะไม่เป็นสิ่งกระตุ้นอีกต่อไป
การจะจูงใจบุคคลต้องรู้ว่าบุคคลอยู่ในระดับความตัองการระดับใด
ทฤษฎี LRG Alderfer's ERG Theory
ความต้องการอยู่รอด เน้นความมั่นคงเพื่อยังชีพ
ความต้องการความสัมพันธ์ เน้นสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
ความต้องการเติบโต เน้นพัฒนาตัวเองให้ก้าวหน้า
ทฤษฎีสองปัจจัย Herzberg's theory
ปัจจัยด้านสุขอนามัย
ปัจจัยจูงใจ
ทฤษฎี McClelland's theory
ความต้องการความสำเร็จ
ความต้องการความสัมพันธ์
ความต้องการอำนาจ
ทฤษฎีการจูงใจเกี่ยวกับกระบวนการ
ทฤษฎีความเสมอภาค
การตีความขึ้นอยู่กับความรู้สึกพนักงานเป็นหลัก
ทฤษฎีความคาดหวัง
เป้าหมายบุคคลที่ต่างกัน ย่อมทำให้พฤติกรรมต่างกัน
ทฤษฎีการกำหนดเป้าหมาย
เชื่อว่าเป้าหมายคือการกำหนดทิศทางในการทำงานของพนักงาน
เป็นตัวขับเคลื่อนหลักให้บุคคลมีความพยายามปฎิบัติ
เป้าหมายต้องชัดเจน ยาก ท้าทาย
ทฤษฎีการจูงใจเกี่ยวกับการเสริมแรง
ตัวเสริมแรงจะทำให้บุคคลตอบสนองด้วยการลงมือกระทำ หรือไม่กระทำ มองพฤติกรรมบุคคลผ่านการเรียนรู้ จากสิ่งกระตุ้นและการตอบสนอง
การเสริมแรง 2 ประเภท
การเสริมแรงทางบวก
เสนอสิ่งจูงใจที่น่าพอใจ
การเสริมแรงทางลบ
หลีกเลี่ยงการเรียนรู้หลีกเลี่ยงการกระทำ เช่น การลงโทษ
การจัดการการจูงใจ
ผู้จัดการสามารถใช้ทฤษฎีการจูงใจเพื่อจูงใจให้ผู้ตามทำในสิ่งต่างๆภายใต้เป้าหมายองค์การ
ความร่วมมือ
เงิน
ผู้จัดการกับการจูงใจ
ผู้จัดการที่เข้มงวด ผลงานย่อมออกมาดี แต่พนักงานจะขาดเสรีภาพ ถ้าผู้จัดการนำแบบอิสระการทำงานผลอาจได้เท่าเทียมกัน