Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด image, image, image…
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด
ความผิดปกติของแรง (Abnormal powers)
1.ความผิดปกติของแรงจากการหดรัดตัวของมดลูก
1.1 การหดรัดตัวของมดลูกน้อยกว่าปกติHypotonic uterine dysfunction
แรงดันในมดลูก < 25 mmHg. Duration < 40 sec Interval > 3 min frequency < 3 ครั้งใน 10 min Intensity + ถึง ++
การหดรัดตัวของมดลูกเป็นจังหวะตามปกติ (regular) แต่หดตัวไม่แรง มักเกิดในระยะ active phase และ 2nd stage
สาเหตุ
ครรภ์แฝด
ครรภ์แฝดน้ำ Polyhydramnios
ทารรกตัวโต Macrosomia
ผ่านการมีบุตรมาหลายครั้ง
ผู้คลอดอ่อนเพลีย ขาดนํ้า อาหาร
ไม่มี Ferguson’s reflex (ส่วนนําไม่กระชับช่องเชิงกราน)
Full bladder
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
คลอดยาวนาน Prolonged labor
Exhaustion, fatigue
Dehydration
Postpartum hemorrhage
Infection
เกิดอันตรายจากการช่วยคลอดการใช้สูติศาสตร์หัตถการ c/s
การพยาบาล
การให้สารน้ำอย่างเพียงพอ เพื่อแก้ไขภาวะขาดน้ำ
ให้ยาระงับปวด
ประเมินและตรวจว่าไม่ใช่ CPD
เจาะถุงน้ำคร่ำ และพิจารณาให้ oxytocin
สวนกระเพาะปัสสาวะ
เฝ้าระวังการตกเลือด
ผลกระทบต่อทารก
Fetal distress
Birth trauma
infection
1.2 การหดรัดตัวของมดลูกมากกว่าปกติ Hypertonic uterine dysfunction
มดลูกหดรัดตัวถี่ แรงแต่ไม่สมํ่าเสมอ ใยกล้ามเนื้อมดลูกทํางานไม่ประสานกันมดลูกส่วนกลางและล่างหดรัดตัวมากกว่าส่วนบน เกิดจาก psycholog
1.2.1 มดลูกหดรัดตัวไม่ประสานกัน Incoordinated contraction
แรงดันในมดลูกขณะหดรัดตัว >50 mmHg. resting period<2 min แรงดันในมดลูกขณะคลายตัว >15 mmHg. มี severe pain
1.2.2 มดลูกหดรัดตัวไม่คลาย Tetanic contraction
มดลูกหดรัดตัวแข็งตึงตลอดเวลา มีความตึงตัวมากกว่าปกติ หดรัดตัวนานและถี่ ระยะพักสั้น
Uterine contraction:D>90’’I<2’
ไม่มีการเปิดหรือการบางของปากมดลูก
ไม่เกิดกลไก descent (obstructed labor)
ผู้คลอดเจ็บปวดมาก
คลําไม่พบส่วนของทารกทางหน้าท้อง
มีการเปลี่ยนแปลงของ FHR
Uterine rupture
อาการเจ็บปวดหายไป คลําได้ส่วนของทารกทางหน้าท้อง
1.2.3 มดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวน constriction ring
Physiological retraction ring
(Braun’s ring )
เกิดขึ้นได้ทุกระยะของการคลอด
รอยคอดเกิดขึ้นทุกส่วนของมดลูก
รอยคอดไม่เปลี่ยนตําแหน่ง
มองไม่เห็นทางหน้าท้อง
มดลูกไม่แข็งเกร็งสามารถคลําส่วนของทารกได้ทางหน้าท้อง
ผู้คลอดไม่เจ็บปวดมากทารกไม่มีภาวะ fetal distress
ช่วยบรรเทาได้โดยใช้ยา
Pathological retraction ring
(Bandl’ ring)
มักพบร่วมกับภาวะprolonged 2nd stage of labor
รอยคอดเกิดขึ้นระหว่างกล้ามเนื้อมดลูกส่วนบนและส่วนล่าง
รอยคอดจะมีระดับสูงขึ้นเรื่อยๆ
มองเห็นได้ชัดทางหน้าท้อง
มดลูกจะแข็งเกร็งคลําส่วนของทารกทางหน้าท้องไม่ได้
ผู้คลอดเจ็บปวดมากกระสับกระส่ายและพบภาวะ fetal distress
ต้องทํา C/S ทันที
ปัจจัยและปัจจัยส่งเสริมที่ทําให้เกิดภาวะ
CPD or fetal abnormal position
Past history of repeat uterus infection
Abortion
Abruptio placentae
Induction of labor
Operation
ครรภ์แรก
ผลกระทบต่อผู้คลอด
Birth injuries & lacerations
Uterine inversion
Postpartum hemorrhage
Bad experience
Abruptio placentae
dead
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
Fetal distress
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก และ FHS
หยุดให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
Sedative drug : pethidine & phenergan
relaxation technig
จัดให้นอนตะแคงซ้าย
ให้ oxygen nasal canular 4 l/min.
C/S
2. ความผิกปกติของแรงเบ่ง
ปัจจัย/ปัจจัยส่งเสริม
Incorrect pushing technique
Absent urge to push
Maternal exhaustion
มี pathological disease
ผลกระทบต่อผู้คลอด
Cervical edema
Prolonged 2nd stage
Exhaustion, dehydration
infection
Postpartum hemorrhage
ผลกระทบต่อทารก
Fetal distress
การพยาบาล
ระยะรอคลอด แนะนำเทคนิคการบรรเทาความเจ็บปวดโดยไม่ใช้ยา และพยายามผ่อนคลายหรือพักในช่วงมดลูกคลายตัว
ไม่ควรเบ่งคลอด ถ้าปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที
ดูแลความสุขสบาย
ความผิกปกติของช่องคลอด (Abnormalities of passages)
ช่องเชิงกรานแคบ Contracted pelvic inlet
1.1 ทางเข้าของเชิงกรานแคบ (pelvic inlet Contraction)
เส้นผ่าศูนย์กลางวัดจากด้านหน้าไปด้านหลังของ pelvic inlet (A-P diameter) น้อยกว่า 10 cm. (ค่าปกติ 10.5 cm.)
เส้นผ่าศูนย์แนวขวาง (transverse diameter) น้อยกว่า 12 cm. (ค่าปกติ 13.5 cm.)
ตรวจทางช่องคลอด
ท่าที่ 3 และ 4ไม่พบ engagement กดบริเวณยอดมดลูกพบศีรษะเกยบริเวณรอยต่อ symphysis pubis
ตรวจทางช่องคลอด
diagonal conjugate < 11.5 cm. คลําพบขอบข้างของ pelvic inlet กดยอดมดลูก ไม่มี descent
เฝ้าระวัง CPD, tetanic contraction และ fetal distress พิจารณา cesarean section
1.2 ส่วนกลางของเชิงกรานแคบ (mid pelvic contraction)
ค่า interspinous diameter น้อยกว่า 9 cm.
คลำพบ ischial spine ยื่นนูน ด้านข้างของ pelvic สอบนูนเข้าหากัน Prolonged 1st และ 2nd stage ไม่เกิดกลไก internal rotation พบ transverse arrest of fetal head (sagittal suture อยู่ในแนวขวาง)
ประเมินและวินิจฉัย
Transverse arrest of head จะตรวจพบ sagittal suture
เหมาะสำหรับการช่วยคลอดในผู้คลอดที่มี contracted mid pelvic
1.3 ช่องทางออกของเชิงกรานแคบ (pelvic outlet contraction)
ค่า Intertuberous diameter 10 (<8) subpubic angle >90 (<85)
เมื่อ fully dilated ขณะผู้คลอดเบ่ง ศีรษะทารกจะมีการเคลื่อนต่ำแต่เมื่อหยุดเบ่ง ศีรษะทารกจะถอยกลับ
มักพบร่วมกับ contracted mid pelvis ส่วนมากมักคลอดทางช่องคลอดได้
C-shape position
1.4 เชิงกรานผิดปกติทุกส่วน General contraction pelvis
ผลกระทบต่อผู้คลอด
Premature rupture of membranes
Infections
สายสะดือพลัดต่ำ
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
Caput succedaneum
Scalp necrosis
Intracranial hemorrhage
Fetal distress
ช่องทางคลอดอ่อนผิดปกติ Abnormalities of soft passage
Cervical edema
นอนตะแคง ยกปลายเท้าสูงเพื่อลดการกดทับของศีรษะทารก หายใจเข้าลึกๆ หายใจออกยาวๆ เมื่อมดลูกหดรัดตัวไม่ให้เบ่งหากปากมดลูกยังเปิ ดไม่หมด อาจให้ยาระงับปวด
Anteflexion uterus
แรงดันจาก uterine contraction ไม่ลง cervix โดยตรง
ความผิดปกติของทารกในครรภ์ (Abnormalities of passengers)
1. ความผิดปกติเกี่ยวกับส่วนนำทารก Abnormal presentation
1.1 ทารกมีก้นเป็นส่วนนำ
Abnormal presentation: Breech
การตรวจ
Leopold maneuver Per vaginal examination Per vaginal examination
ผลกระทบต่อผู้คลอดและทารก
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
Prolapsed cord
Prolonged labor
Fetal distress
การพยาบาล
GA < 32 wk. ทารกจะหมุนกลับศีรษะ
หลัง GA 32 wk. ทำ u/s ยืนยันท่าทารกในครรภ์
พิจารณาทำ External cephalic version
ช่วยแพทย์ทำคลอดท่าก้น
Cesarean section ในกรณีมีข้อบ่งชี้
1.2 ทารกมีไหล่เป็นส่วนนำ Abnormal presentation: shoulder
External cephalic version & C/S
2. ความผิดปกติเกี่ยวกับท่าทารก Abnormal position
2.1 ท่าท้ายทอยอยู่ด้านหลัง Occiput posterior position : OPP
ผู้คลอดจะเจ็บครรภ์มากอยากเบ่งเมื่อปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
3. ความผิดปกติเกี่ยวกับทรงของทารก Abnormal attitude
พิจารณา C/S
4. Abnormal asynclitism
Asynclitism” การตะแคงศีรษะโดยเอาส่วน parietal bone เป็นส่วนนําเข้าสู่ช่องเชิงกราน
มักเกิดภาวะ dystocia หรือ obstruct
5. ทารกในครรภ์มีการเจริญเติบโตผิดปกติ Abnormal development of fetus
5.1 ทารกตัวโต Macrosomia
Shoulder dystocia
injury
ตกเลือด
Prolonged labor
5.2 ทารกหัวบาตร Hydrocephalus
เจาะดูดน้ำในศีรษะออก
C/S
5.3 ทารกท้องขนาดใหญ่ large fetal abdomen
เจาะดูดน้ำในช่องท้องออก
C/S
5.4 Multiples pregnancy
วางแผนการคลอด