Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คุณธรรม จรยิธรรมสําหรบัครู - Coggle Diagram
คุณธรรม จรยิธรรมสําหรบัครู
ความหมายของคุณธรรม/จรยิธรรม
คุณธรรม
คุณ คือ ความดีที่ประจําอยูใ่นสิง่นั้นนั้น
คุณธรรมหมายถึงสภาพคุณงามความดี
ความดีงามของลักษณะนิสัย/พฤติกรรมที่ได้กระทําจนเคยชน
สําหรับพระธรรมโกศาจารย์
คุณ : ค่าที่มีอยูใ่ นเเต่ละสิง่ ซึ่งเป็นที่ตั้งเเห่ ความยึดถือ (ดี/รา้ย)
ธรรมะ 4 ประการ
ของธรรมชาติเรามีหน้าที่ต้องเรยีนรู้
หน้าที่ตามกฎของธรรมชาติเรามีหน้าที่ต้องปฏิบัติ
ธรรมชาติเรามีหน้าที่ต้องเกี่ยวข้อง
ผลจากการปฎิบัติหน้าที่นั้น เรามีหน้าที่จะต้องมีเริ่มใช้มันอย่างถูกต้อง
พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ. ปยุตโต)
ธรรมที่เป็นคุณงามความดีสภาพที่เกื้อกูล
ทําธรรมชาติของความดีลักษณะของความดีหรอืสภาพของความดีที่มีอยูใ นตัวบุคคลใด
บุคคลหนึ่ง
จรยิธรรม
พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ. ปยุตโต)
จรยิะ : (การประพฤติ) การดําเนินชวีติ /การเดินทางของชวีต
พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตสถาน
จรยิ : ความประพฤติกิรยิาที่ควรประพฤติ(ป:2554)
จรยิธรรม : ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติศิลธรรม กฎศิลธรรม(ป:2556)
พระธรรมโกศาจารย์
จรยิธรรมเป็นความรู้อันถูกต้องเกี่ยวกับศีลธรรม
หลักความประพฤติปฏิบัติที่ถูกต้องดีงามมีคุณค่าควรแก่การนําไปดําเนินชวีตหรอืหลักในการดําเนินชวีติ อยา่ งประเสรฐ
ความสําคัญของคุณธรรม จรยิธรรม
ประโยชน์ตน
ทําใหต้นเองมีความเจรญิรุ่งเรื่ิองในชีวิต
ได้รับการยกย่องสรรเสริญ เทิดทูนบูชาจากบุคคลทั่วไป
ทําใ้ห้ตนมีชีวิตที่สงบเย็นไม่ต้องเดือดเนื้อร้อนใจ ต้องอยู่อย่างหวาดระแวง
ครอบครวัอบอุ่น มีความสุข ฐานะเศรษฐกิจมั่งคง
ประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ
ชุมชน
สังคมได้รบัความสุข
สังคมได้รบัการพัฒนาอย่างต่อเนื่องรวดเร็ว
ชาติบ้านเมือง
ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีความมั่นคง
ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของชาติ
มีความมั่นคงถาวร
ต่อสถาบัน
การศึกษา หรอืประกอบอาชพี ธุรกิจมีชื่อเสียง ทําใหบุคคลศรัธทาเสื่อมใส
สบานที่ตนเองสังกัดมีความเจริญก้าวหน้า
ได้รับการพัฒนาอยา่งรวดเร็วและต่อเนื่อง
ครอบครัวได้รับการยกย่องสรรเสริญ
คุณธรรมสี่ประการสําหรับคนไทย
รัชกาลที่9
พระราชทานเนื่องในวโรกาสฉลองศิริราชสมบัตครบ 60 ปี
การที่แต่ละคนต่างช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
การที่ทุกคนประพฤติปฏิบัติตนสุจริต
การที่ทุกคนคิด พูด ทํา ด้วย ความเมตตา มุ่งดีมุ่งเจริญ
การที่ต่างคนต่างพยายามทําความคิดความเห็นของ
ตนให้ถูกต้องเที่ยงตรงและมั่นคงอยูใ่นเหตุผล
พระราชทานเนื่องในวโรกาสเฉลิมฉลอง
กรุงรัตนโกสินทร์มีอายุครบ 200 ปี
การรู้จักข่มใจตนเองฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัจความดีนั้น
การอดทน อดกลั้นเเละอดออม
การรกัษาความสัจ
ความจรงิใจต่อตนเองที่ประพฤติปฏิ
บัติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรม
การรู้จักระวงัความชั่ว ความทุจริตและรู้จักประโยชน์์ส่วนน้อยของตนเพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง
หลักพุทธธรรมเพื่อความเป็นครู
พุทโธวาท 3
คำสอนพระพุทธเจ้าที่เป็นหลักใหญ่
กสลสสูปสมปทา : การทำกุศล
สจิตตปริโยทน์ : การทำจิตใจให้สะอาดบริสุทธิ
สพพปาสส อกรณ์ : การไม่ทำบาป
กุศลมูล 3
กุศลมูล : ต้นต่อของความดี
อโทสะ
อโมหะ
อโลภะ
หิริ โอตตัปปะ
หิริ : ความรักอายต่อบาป ส่วนโอตตัปปะ : เกรงกลัวต่อบาปและความชั่ว ทั้ง ปวง (ธรรมคุ้มครองโลก)
ฆราวาสธรรม 4
ฆราวาสธรรม : การครองตน
ทมะ
ขันติ
สัจจะ
จาคะ
ขันติ โสรัจจะ
ขันติ : ความอดทน ส่วนโสรัจจะ : ความสงบเสงี่ยม มีอัธยาศัยงดงาม(ธรรมที่ทำให้ทานที่ทำให้งาม)
ธรรมจักร 4
ธรรมจักร : หลักธรรมที่จะนำไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง
สัปปุสูป้สสยะ
อัตตสัมมาปณิธิ
ปุพเพกคปุญญตา
ปฏิรูปเทสวาสะ
สติ สัมปชัญญะ
สติ : ความระลึกได้ก่อนจะทำ ก่อนจะพูด ก่อนจะคิดๆ หรือความสำนึกอยู่ไม่เผลอ ส่วนสัมปชัญญะ :ความรู้สึกตัวว่ากำลังกระทำ กำลังพูด กำลังคิด (ธรรมมทีมีอุการะมาก)
ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ : อำนวยประโยชน์สุขขั้นต้น
สุจริต 3
สุจริต : ความประพฤติดีประพฤติชอบ
วจีสุจริต
มโนสุจริต
กายสุจริต
วุฑฒิธรรม 4
โยนิโสมนสิการ
ธัมมานุธัมมปฎิบัติ
สัทธัมมัสสวนะ
สัปปุริสสังเสวะ
อคติ 4 : ความลำเอียง
โมหาคติ
ภยาคติ
โทสาคติ
ฉันทาคติ
สัคหวัตถุ 4 (ยึดเหนี่ยวจิตใจ ,ครองคน)
สมานัดตดา
ปิยวาจา
อัตถจริยา
ทาน
วิบัติ 4
กาลวิบัติ
ปโยควิบัติ
อุปธิวิบัติ
คติวิบัติ
สมบัติ 4
กาวสมบัติ
ปโยสมบัติ
อุปธิสมบัติ
คติสมบัติ
ศรัทธา 4
ตถาคตโพธิสัทธา
กัมมัสสกตาสัทธา
วิปากสัทธา
กัมมสัทธา
พรหมวิหาร 4 : ธรรมอันประเสริฐ(ธรรมสำหรับผู้ใหญ่)
กรุณา
เมตตา
มุทิตา
อุเบกขา
สมชีวิตธรรม 4
สมจาคา
สมปัญญา
สมสีลา
สมสัทธา
มิตรเทียม
คนหัวประจบ
คนชักชวนฉิบหาย
คนดีเเต่พูด
คนปอกลอก
สติปัฎฐาน 4
ธัมมานุปัสสนา
จิตตานุปัสสนา
เวทนาปัสสนา
กายานุปัสสนา
มิตรเเท้ 4
มิตรเเนะประโยชน์
มิตรมีนำ้ใจ
มิตรร่วมทุกข์ร่วมสุข
มิตรอุปการะ