Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute Kidney Injury and Chronic kidney disease, ชะลอการเสื่อมของไต…
Acute Kidney Injury
and
Chronic kidney disease
Chronic kidney disease
ภาวะที่ไตเสียหน้าที่อย่างถาวร โดยใช้เวลาค่อยเป็นค่อยไป การรักษาทําได้ในระยะแรกคือการชะลอความก้าวหน้าของโรค
สาเหตุ
เบาหวาน
ความดันโลหิตสูง
SLE, glomerulonephritis และ IgA nephropathy
Polycystic kidney disease
ภาวะไตผิดปกติหมายถึง
ตรวจพบความผิดปกติดังต่อไปนี้อย่างน้อย 2 ครั้งในระยะเวลา 3 เดือนได้แก่
ตรวจพบความผิดปกติทางรังสีวิทยา
ตรวจพบความผิดปกติทางโครงสร้างหรือพยาธิสภาพ
มีประวัติการได้รับผ่าตัดปลูกถ่ายไต
อาการและอาการแสดงของโรคไตเรื้อรัง
ภาวะเป็นเลือดเป็นกรด (Acidosis) มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน หายใจหอบลึก (Kussmual breathing)
กระดูกบาง เนื้อกระดูกน้อยลงเมื่อขาด Active Vit.D (Calcitiol) มีผลทําให้การดูดซึมแคลเซี่ยมลดลง หรืออาจมีภาวะ Hyperparathyroid
โลหิตจางเพราะขาด Erythropoietin
เลือดออก และติดเชื้อง่าย
Uremia
ปอดมีฝ้า (Uremic lung) น้ําท่วมปอด ปอดติดเชื้อ
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
ตรวจคัดกรองและส่งปรึกษาหรือส่งต่อ (screening and consultation or referral)
ประเมินและรักษาภาวะแทรกซ้อนของโรคไตเรื้อรัง (evaluation and treating complications)
ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular risk reduction)
เตรียมผู้ป่วยเพื่อการบําบัดทดแทนไต (preparation for renal replacement therapy)
แนวทางในการดูแลเป็นการประเมิน ให้ความรู้ และการรักษาเมื่อมีภาวะแทรกซ้อน
แนวทางในการดูแลเป็นการประเมิน ให้ความรู้ และการรักษาเมื่อมี ภาวะแทรกซ้อน
การควบคุมสมดุลน้ํา และการควบคุมสมดุลอิเล็คโทรไลท์ที่สําคัญคือ hyperkalemia
ให้Kalemate, NaHCO3, Insulin ใน Glucose ให้ทางหลอดเลือดดํา
ทํา dialysis ในกรณีที่มีภาวะ hyperphosphatemiaร่วมกับ hypocalcemia
ควบคุมสมดุลกรด-ด่าง แก้ไขโดยการให้ Sodamint (NaHCO3)
การควบคุมอาหาร และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อชะลอความเสื่อมของไต
การรักษาโดยการบําบัดทดแทนไตคือการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม การล้างไตทางหน้าท้อง และการปลูก ถ่ายไต
การเฝ้าระวังปัญหาจากdrug metabolism
Acute Kidney Injury
คือ ภาวะที่ไตเสียหน้าที่ไปอย่างเฉียบพลันใน การขจัดของเสียรวมทั้งการเสียความสามารถในการควบคุมน้ํา กรด-ด่าง และ อิเล็กโทรไลท์
ผลตามมา
volume overload
metabolic acidosis
hyperkalemia
hypo-hypernatremia
การสะสม nitrogen waste products
การวินิจฉัย
การซักประวัติและตรวจร่างกาย:
ประเมินการหายใจหอบเร็วแบบKuss-Maul’s respiration จากภาวะ acidosis ซีดเลือดออกง่าย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน แผลในปาก อ่อนเพลีย สับสน สูญเสีย ความทรงจํา ชักและไม่รู้สึกตัว
การตรวจปัสสาวะ
ความถ่วงจําเพาะและ urine osmolality สูงขึ้นร่วมกับโซเดียมใน ปัสสาวะต่ำจะพบในPre-renal AKI
การตรวจเลือด
SCrและ BUN จะสูงขึ้นตามระยะของภาวะ AKI จนถึงระยะ Diuresis จึงเริ่มลดลง
เกณฑ์ในการวินิจฉัย
ภาวะที่ระดับ Creatinine เพิ่มขึ้นมากกว่าเดิม 0.5 mg/dl หรือเพิ่มขึ้นกว่าเดิมร้อยละ 50
ระยะ
ระยะที่ 1
Scrเพิ่มขึ้น≥ 1.5 เท่าของScrเริ่มต้นหรือScr เพิ่มขึ้น≥0.3 mg/dl
ในระยะเวลา48ชวั่โมงนับจากเร่ิมต้น
มีปัสสาวะ< 0.5 cc/Kg/hr
เป็นเวลาอย่างน้อย6ชั่วโมง
ระยะที่ 2
Scrเพิ่มขึ้น≥2 เท่าถึง< 3 เท่าของScrเริ่มต้น
มีปัสสาวะ< 0.5 cc/Kg/hr เป็นเวลาอย่างน้อย 12 ชั่วโมง
ระยะที่ 3
Scrเพิ่มขึ้น≥3เท่าของScrเริ่มต้น หรือScr เพิ่มขึ้น≥4 mg/dl หรือผู้ป่วยต้องทําการบําบัดทดแทนไต
มีปัสสาวะ< 0.3cc/Kg/hr เป็นเวลาอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
สาเหตุของ AKI
Prerenal
เกิดจากการไหลเวียนของเลือดที่ไปไตลดลง
Intravascular volume ลดลง ในผู้ป่วยที่เสียเลือด มีบาดแผลไฟไหม้รุนแรง ร่างกายสูญเสียน้ําอย่างมาก
Cardiac output ลดลงเช่นPost cardiac arrest
Circulatory failure การไหลเวียนโลหิตที่ลดลงเช่นในภาวะ shock หลอดเลือดขยาย (Vasodilatation) Pulmonaryembolism, Anaphylaxis และSepsis
Intrarenal
เนื้อเยื่อไตถูกทําลายเนื่องจากได้รับสารที่มีพิษต่อไต(nephrotoxins)ติดเชื้อ ระบบอิมมูนผิดปกติทําใหัมีการอักเสบที่ไต
Antibiotics/Anti-infective
Antineoplastic
โลหะหนักเช่นสารหนู (Arsenic),ทองแดง (Copper sulfate)
Post renal AKI
เกิดจากปัสสาวะไหลออกไม่ได้ทําให้มีการท้นหรือย้อนกลับสู่ไต ทําให้ไตถูกทําลาย
ต่อมลูกหมากโต
เนื้องอกมะเร็งในช่องท้อง
Urethra ตีบแคบ
อาการและอาการแสดง
กลุ่มอาการภาวะน้ําเกิน (ปัสสาวะออกน้อย บวม BP สูงขึ้น HR เร็วขึ้น Neck vein โป่ง น้ําหนักเพิ่ม ปอดมีเสียง Ralesหรือ Crepitation)
กลุ่มอาการ Azotemia /Uemiaได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย สับสนซึมลง มือสั่น
Electrolyte imbalance เช่น Hyperkalemia
Metabolic acidosis หายใจหอบลึก
Acute tubular necrosis
ภาวะเนื้อตายของท่อไตเฉียบพลัน
Initial phase
ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มมีสาเหตุของโรคจนพบว่าปัสสาวะออกน้อย (หลายชั่วโมง-หลายวัน) ตรวจพบระดับ BUN และ Cr สูงขึ้นเล็กน้อย
Oliguricphase
ระยะนี้จะพบปัสสาวะออกน้อย (<400 cc/day) ไม่ค่อยตอบสนองต่อการใช้ยาขับปัสสาวะ พบมีการคั่งของน้ําเกิดภาวะน้ําเกิน อีเล็กโทรไลต์และกรดคั่ง (Na คั่งแต่เพราะมีภาวะน้ําเกิน จึงพบภาวะ Dilutionalhyponatremia) ค่าPlasma osmolarityสูงกว่า Urine osmolarity มาก
3.Diureticphase
ระยะนี้มีปัสสาวะออกจํานวนมากหลายลิตร แม้ปัสสาวะจะออกมาก แต่ BUN และ Cr ลดลงน้อยมาก เป็นเพราะกลไกการดูดซึมกลับของ renal tubule ยังไม่ปกติ ไม่สามารถทําให้ปัสสาวะเข้มข้นเป็นปกติได้ ปัสสาวะจึงออกมาก ในขณะที่BUN และ Cr กลับลดลงอย่างช้าๆ ระยะนี้ต้องระวังภาวะขาดน้ํา (hypovolemia) และ อาจเป็นสาเหตุของ Prerenal azotemia ได้
Recover phase (Convalescent)
ระยะนี้ไตฟื้นสู่ปกติหรือเกือบเหมือนเดิมใช้เวลาแตกต่างกันและอาจฟื้นคืนได้หลายระดับ แต่ไม่ค่อยแข็งแรงเท่าเดิม ไตขจัดของเสียได้แต่ต้องใช้เวลานานขึ้นหรือต้องช่วยลดภาระของไตด้วย การควบคุมปริมาณอาหารกลุ่มโปรตีนแต่ใช้โปรตีนคุณภาพสูง (High biological value)
แนวทางการดูแลรักษา
วางแผนสําหรับรักษาสมดุลของน้ําและ Electrolytes
ให้อาหารแคลอรี่สูงแต่จํากัดโปรตีนและelectrolyteที่เกินสมดุล
การล้างไต
1) การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (HD)
2) การล้างไตทางช่องท้อง (Acute Peritoneal Dialysis/ APD)
ชะลอการเสื่อมของไต (slowing the progression of kidney diseases)