Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมาย - Coggle Diagram
กฎหมาย
กฎหมายคืออะไร
ข้อบังคบที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อควบคุมพฤติกรรมของบุคคลในสังคม
ช่วยปกป้องสิทธิเสรีภาพของบุคคล
รักษาความสงบเรียบร้อย
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ความหมายและการบังคับใช้
กฎหมายแพ่ง : กำหนดสิทธิและหน้าที่ของบุคคล
กฎหมายพาณิชย์ : ควบคุมกิจกรรมทางการค้า
กฎหมายเกี่ยวกับบุคคล
บุคคลธรรมดา : คนทั่วไปที่มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย
นิติบุคคล : องค์กรที่กฎหมายรับรองให้มีสิทธิและหน้าที่เสมือนบุคคล
กฎหมายอาญา
ความหมายและลักษณะของกฎหมายอาญา
กฎหมายมหาชนที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐดับเอกชน
ต้องตีความอย่างเคร่งครัด ไม่มีความผิด ไม่มีโทษหายไม่มีกฎบัญญัติไว้
ไม่มีผลย้อนหลัง เว้นแต่เป็นประโยชน์ต่อจำเลย
ความผิดทางอาญา
การฆ่าคน ความผิดที่ยอมความไม่ได้
การทำร้ายร่างกาย ความผิดที่ยอมความได้
โทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือทั้งจำทั้งปรับ ความผิดลุหุโทษ
การรับโทษ
ประเภทการรับโทษ
ไม่ผิดและไม่ต้องรับโทษ
มีความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ
มีความผิดแต่ได้รับการยกโทษ
ผู้กระทำความผิดทางอาญา
ตัวการ : ผู้ที่กระทำความผิด
ผู้ใช้ : ทำไม่สำเร็จ รับโทษ 1ใน 3 ของตัวการ
สนับสนุนความผิดลหุโทษ
ขั้นตอนการกระทำความผิดทางอาญา
กระบวนการดระทำผิด
คิดนอกใจ
เตรียมการ
ลงมือทำและสำเร็จ
การกระทำ
กระทำทำโดยเจตนา : มีเจตนาที่จะกระทำ
กระทำโดยไม่เจตนา : ไม่มีเจตนาที่จะกระทำ
กระทำโดยประมาท : กระทำโดยไม่ระมัดระวัง
ความสามารถของบุคคล
การจำแนกประเภทความสามารถ
ผู้เยาว์ : ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม
ผู้เสมือนไร้ความสามารถ : ต้องมีผู้พิทักษ์คอยดูแลบางกรณี
ผู้ไร้ความสามารถ : ไม่สามารถนิติกรรมเองได้ ต้องมีผู้อนุบาล
กฎหมายครอบครัว
การจัดการเรื่องครอบครัว
การหมั้น : สัญญาจะแต่งงาน มีของหมั้นและสินสอด
การสมรส : ต้องจดทะเบียนและทีเงื่อนไข อายุไม่ต่ำกว่า 17 ปี
สินสมรส : ทรัพย์สินที่ได้มาหลังจากสมรส แบ่งกันเมื่อหย่า
การหย่า : เกิดจากการจดทะเบียนหย่าหรือคำสั่งหย่า
กฎหมายมรดก
การจัดการมรดก
พินัยกรรม : เอกสารแสดงเจตนาแบ่งมรดก
ทายาทโดยธรรม : ผู้สืบทอดมรดก บุตร บิดา มารดา คู่สมรส
กฎหมายทรัพย์สิน
การจำแนกประเภททรัพย์สิน
อสังหาริมทรัพย์
ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
สังหาริมทรัพย์
ทรัพย์สินที่เคลื่อนย้ายได้
ความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย์
ประเภทความผิดที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์
ลักทรัพย์ : ขโมยทรัพย์สินของผู้อื่น
วิ่งราวทรัพย์ : ใช้กำลังเพื่อใช้กำลังเพื่อเอาทรัพย์สินของผู้อื่น
ชิงทรัพย์ : ขู่เข็ญเพื่อเอาทรัพย์สิน
ปล้นทรัพย์ : ใช้กำลังเพื่อใช้กำลังเพื่อเอาทรัพย์สินในที่สาธารณะ
กรรโชกทรัพย์ : ขู่เข็ญเพื่อเอาทรัพย์สิน
รีดเอาทรัพย์ : บังคับให้ส่งมอบทรัพย์สิน
ฉ้อโกงทรัพย์ : ใช้กลอุบายเพื่อเอาทรัพย์สิน
ยักยอกทรัพย์ : เอาทรัพย์สินที่มีในครอบครองไปใช้ในทางที่ผิด
ลักษณะของกฎหมาย
คุณสมบัติหลักของกฎหมาย
ออกโดยรัฎชาธิปัตย์(มีอำนาจสูงสุด) ซึ่งเป็นอำนาจในการสร้างและบังคับใช้กฎหมาย
ใช้บังคับกับทุกคนในสังคมอย่างเท่าเทียม
มีบทลงโทษสำหรับมีบทลงโทษสำหรับผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย เพื่อให้เกิดการปฏิบัติตาม
กฎหมายไม่สามารถมีผลย้อนหลัง ในกรณีที่เป็นโทษ
ลำลำดับศักดิ์ของกฎหมาย
โครงสร้างของกฎหมายในประเทศไทย
รัฐธรรมนูญ : กฎหมายสูงสุดที่กำหนดกฎหมายสูงสุดที่กำหนดหลักการและโครงสร้างของรัฐ
พระราชบัญญัติ : กฎหมายที่ออกโดยรัฐสภา
พระราชกำหนด : กฎหมายที่ออกโดยคณะรัฐมนตรีในกรณีฉุกเฉิน
พระราชกฤษฎีกา : กฎหมายที่ออกโดยพระมหากษัตริย์
กฎกระทรวง : กฎหมายที่ออกโดยกระทรวงต่างๆ
กฎหมายท้องถิ่น : กฎหมายที่ใช้ในระดับท้องถิ่น
กฎหมายเอกเทศสัญญา
ประภทของสัญญา
สัญญาซื้อขาย : โอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้ซื้อ
สัญญาเช่า : ใช้ทรัพย์สินชั่วคราวโดยจ่ายค่าเช่า
สัญญาจำนำสัญญาจำนำ/จำนอง : นำนำทรัพย์สินไปค้ำประกัน
สัญญากู้ยืมเงิน : กู้ยืมเงิน 2000 บาทขึ้นไปต้องทำเป็นหนังสือสัญญา
สัญญาค้ำประกัน : ผู้อื่นรับผิดชอบหนี้แทน