Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ที่มีความวิตกกังวล/เครียด, นศพต.ทิพย์เกสร แสนหาญ เลขที่ 30 - Coggle…
ผู้ที่มีความวิตกกังวล/เครียด
ความวิตกกังวล
สภาวะทางอารมณ์ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนว่ามี การกระตุ้นที่มากเกิดขึ้นรู้สึกเหมือนถูกคุกคาม ตกอยู่ในอันตรายและไม่มั่นคงปลอดภัย
ตอบสนองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
ระดับ
ระดับต่ำ (Mild anxiety)
กระตุ้นให้บุคคลมีความตื่นตัว เตรียมพร้อมที่จะรับรู้และ ปรับตัวให้สามารถเข้ากับสถานการณ์นั้นได้ในบางคนจะมีการรับรู้ดีขึ้น
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตื่นตัว
ระดับปานกลาง (Moderate anxiety)
การรับรู้จะถูกจำกัดให้แคบลง
มีพลังงานเกิดขึ้น
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตื่นตัว แต่แคบลง
ระดับรุนแรง(Severe anxiety)
การรับรู้สภาพแวดล้อมผิดๆไปจาก ความเป็นจริง สติปัญญาที่จะแก้ไขปัญหาต่างๆลดลง ไม่รับรู้กาลเวลาและสถานที่
ระบบประสาทอัตโนมัติ ซิมพาทิทิคเพิ่ม hyperventilation
กลัว เรียนรู้แก้ไขปัญหาไม่ได
ระดับรุนแรงที่สุด (Panic anxiety)
ไม่สามารถควบคุมตนเองได้และกระทำกิจกรรมต่างๆ อย่างไม่มีจุดมุ่งหมาย
อ่อนเพลียมากเป็นลม เสียงสั่น พูดน้อยลง พูดวกวน
การพยาบาล
mild
ตระหนักรู้ว่า anxiety
ยอมรับให้กำลังใจ
แก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
moderate
ตระหนักรู้ว่า anxiety ถาม .คุณรู้สึกกังวลไหม
ระบายความรู้สึก
สำรวจความรู้สึก
ส่งเสริมการผ่อนคลาย
severe anxiety
อยู่เป็นเพื่อน
ลดสิ่งกระตุ้น
ตอบสนองความต้องการด้านร่างกาย
4.panic anxiety
ช่วยให้ผู้ป่วยสงบ ปกป้องผู้ป่วยให้รู้สึกปลอดภัย
คำพูดง่ายๆ สั้นๆ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพ ไว้วางใจ มั่นคง ปลอดภัย
sedative
ช่วยเหลือให้ผู้ป่วยได้เผชิญกับปัญหาอย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมลดความวิตกกังวล
ความเครียด
สภาวะการณ์เกิดขึ้นแล้วรู้สึกสู้ไม่ไหว เจอกับปัญหาแล้วสู้ไม่ไหว
สาเหตุของความเครียด
สาเหตุจากภายนอกตัวบุคคล
• สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
• สังคมและสัมพันธภาพกับคนอื่นๆ
• สภาวการณ์และเหตุการณ์อื่นๆ
สาเหตุจากภายในตัวบุคคล โครงสร้างของร่างกายและสภาวะทางสรีระวิทยา
ระดับพัฒนาการ
การรับรู้ และการแปลเหตุการณ์ เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดอารมณ์ กลัว โกรธ เกลียด กังวล หรือตื่นเต้น ถือเป็นเหตุการณ์ที่ ก่อให้เกิดความเครียด ทำให้ร่างกายถูกกระตุ้นและมีการสนองตอบทางด้านสรีรวิทยา
สูญเสียเอกลักษณ์ความเป็นหญิงจาการผ่าตัดเต้านม การตัดมดลูก
ความเจ็บปวด
การเคลื่อนไหวไม่ได้
การสูญเสียและการเปลี่ยนแปลง การสูญเสียบุคคลที่รัก
ผลกระทบของความเครียด
ด้านร่างกาย
คอร์ติซอล และ อะดรีนาลินออกมาเพื่อเตรียมพร้อมให้ร่างกายแข็งแรงและมีพลังงานพร้อมที่จะกระทำการ
ระยะเตือน (Alarm reaction)
ระยะที่เริ่มรู้ว่ามีสิ่งคุกคามต่อตัวคน ร่างกายจะทำการ
ปรับตัวโดยผลิตฮอร์โมนออกมาเพื่อรักษาสมดุลเอาไว้
ระยะต่อต้าน (Stage of resistance)
ระยะที่ร่างกายปรับตัวเพื่อต่อสู้กับสิ่งคุกคามโดยใช้ กลวิธีต่าง ๆ เพื่อให้ชีวิตอยู่รอดและไม่รู้สึกว่าเกิด ความเครียดจนทนไม่ได้
ระยะหมดกำลัง (The stage of exhaustion)
เป็นระยะที่ไม่สามารถปรับตัวได้ จะเกิดความเครียดสูงหรือเกิดความเครียดว่ามีการเปลี่ยนแปลงในร่างกาย
ส่งผล
ความผิดปกติทางร่างกายหรือที่เรียกว่าอาการไซโคโซ
มาติค (Psychosomatic disorder)
มีอาการใจสั่น อาการหอบ
ความผิดปกติทางจิตใจ
กลัวโดยไร้เหตุผล
ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง
ความผิดปกติทางพฤติกรรม
รับประทาน อาหารเพิ่มขึ้นหรือลดลง
ใช้สารเสพติด
ใช้ยานอนหลับ
จู้จี้ขี้บ่น
ชวนทะเลาะ
ระดับความเครียด
ความเครียดระดับต่ำ (Mild stress)
สั้นเพียงนาทีหรือชั่วโมง
ความเครียดระดับปานกลาง (Moderate stress)
นานเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน
ความเครียดระดับสูง (Severe stress)
สัปดาห์ หรืออาจเป็นเดือนหรือปี
พยาบาลจะต้องช่วยเหลือบุคคลที่มีความเครียดให้มี
การเผชิญความเครียดในทางที่สร้างสรรค์
ปรับตัวต่อความเครียด ประคับประคองให้สามารถดำรงชีวิตประจำวันได้
พูดคุยระบายความรู้สึก เทคนิคผ่อนคลาย
วิธีคลายเครียด
ขอเพียงวิธีการนั้นไม่สร้างปัญหาเพิ่ม และไม่สร้างความเดือดร้อนให้แก่ผู้อื่น
เมื่อมีความผ่อนคลายคนเราก็จะมีความสงบ เมื่อเราสงบก็จะมีสติ และเมื่อมนุษย์มีสติก็จะมีปัญญา
บทบาทของพยาบาล
พยาบาลช่วยดึงเอาแหล่งประโยชน์ทั้งภายในและภายนอก (resource)
เสริมสร้างความสามารถใหม่ให้เขา หาทางเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมภายนอกหรือเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อให้ลดความเครียดทางอารมณ
แสวงหาความพึงพอใจใหม่ เพื่อชดเชยสิ่งที่สูญเสียไป
การรับรู้ที่ผิดจากความ เป็นจริง แปลผิดๆ หรือตีความหมายเหตุการณ์ไปในทางที่ไม่ดีแล้วตนเองเกิดรู้สึกไม่สบายใจ
ช่วยบุคคลให้มอง
เหตุการณ์ใหม่ มองหลายๆแง่ หลายๆมุม
การตีค่าตนเองต่ำ
พยาบาลช่วยบุคคลเหล่านี้ให้มีความรู้ในเรื่องบุคลิกภาพ สอนเขาให้รู้จักผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีต่างๆ
ถ้าความเครียดเกิดจากกลไกการแก้ไขภาวะเครียด หรือ Coping Mechanism
พยาบาลช่วยบุคคลให้ตระหนักถึงกลไกการแก้ไข ปัญหาที่เขาก าลังใช้อยู่และช่วยให้เขามีความรู้ในกลไกอื่นๆที่เขาอาจจะใช้ได้ช่วยให้เขาตระหนักถึงแหล่งประโยชน์อื่นๆ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
อารมณ์แปรปรวนไม่อยู่ในภาวะสมดุล เนื่องจากเกิดภาวะสูญเสีย
ความดันโลหิตสูงเนื่องจากมีการสูญเสียการทำหน้าที่ของร่างกาย
เกิดโรคอ้วนเนื่องจากรับประทานมากเพื่อลด การซึมเศร้า
กิจกรรมการพยาบาล
เน้นการช่วยเหลือสนับสนุนให้ปรับตัวได้
การสนับสนุนให้รับรู้ความจริง
การให้ความรู้ และเป็นที่ปรึกษา
กิจกรรมการพยาบาลผู้ที่มีภาวะเครียด
การประเมิน/วินิจฉัยความเครียด : การสัมภาษณ์ สังเกต หรือใช้แบบวัด
การป้องกัน/การช่วยเหลือบุคคลเมื่อเกิดความเครียดช่วยเหลือให้ผู้ป่วยรับรู้เหตุการณ์/สิ่งเร้าตามความเป็นจริง กระตุ้นให้ระบายความรู้สึกไม่สบายใจ
การติดตามและประเมินผล
ขั้นตอนสู่การควบคุมความเครียด
คิดในแง่ดี
• มีปัญหาเล่าสู่กันฟัง
• สร้างความรักความอบอุ่นในครอบครัว
• รักษาสุขภาพกายและจิตใจให้แข็งแกร่ง
• ฝึกเทคนิคคลายเครียดด้วยวิธีการต่างๆ
• วางแผนการบริหารจัดการเวลา
• จัดการสิ่งที่จัดการได้ก่อน
• เลือกสิ่งที่เป็นไปได้จริง
• ตัดสินใจอย่างฉลาด
นศพต.ทิพย์เกสร แสนหาญ เลขที่ 30