Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหู ตา คอ จมูก - Coggle Diagram
การพยาบาลหู ตา คอ จมูก
หู
-
หูชั้นนอก
สิ่งแปลกปลอมเข้าหู
-
อาการและอาการแสดง
- ถ้าเป็นแมลงเข้าหู รู้สึกว่ามีแมลงดิ้นไปมา ปวดหู เลืดออก เวียนศีรษะ
- ถ้าเป็นวัตถุแปลกปลอมเข้าหู อาจรู้สึกมีอะไรกลิ้งไปมาในรูหู
- ถ้าเป็นวัตถุชิ้นโตที่อุดแน่นรูหู ทำให้มีอาการปวดหู หูอื้อ หูตึง การได้ยินลดลง
-
การรักษา
- หากสิ่งมีชีวิตเข้าหูใช้alcohol 70% / mineral oil หยอดลงไป แล้วใช้เครื่องมือคีบออกมา
- หากสิ่งไม่มีชีวิต ใช้น้ำเกลือ/น้ำสะอาด หยอดจนเต็มรูหู แล้วตะแคงหู เทน้ำออกหรือใช้ที่ล้างหู และหากของแข็ง
-
เยื่อแก้วหูทะลุ
สาเหตุ
-
-
3.ว่ายน้ำ(จากความดันอากาศที่เปลี่ยนเเปลงรวดเร็ว,น้ำกระเเทกเข้าหูอย่างรุนแรง
-
-
อาการและอาการแสดง
ปวดหู มีของเหลวออกจากหู(นำ้,หนอง)มีเสียงในหู บ้านหมุน คลื่นไส้ อาเจียน สูญเสีย
การได้ยิน
พยาธิสภาพ
เยื่อแก้วหูทะลุเกิดจากการฉีกขาดหรือมีรูบนเยื่อแก้วหู สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการติดเชื้อในหูชั้นกลาง แรงดันที่เปลี่ยนแปลงกะทันหัน (เช่น แรงดันอากาศหรือเสียงดังมาก) หรือการบาดเจ็บตรงเยื่อแก้วหูฃ
การรักษา
- ถ้าเยื่อแก้วหูทะลุ โดยไม่มีสิ่งสกปรก ไม่ต้องใช้ยาแนะนำไม่ให้น้ำเข้าหู โดยใช้สำลีชุบวาสลีน หรือวัสดุอุดรูหู(ear plug)
- ถ้าเยื่อแก้วหูทะลุ โดยมีสิ่งสกปรกหรือมีการติดเชื้อ ให้ยาต้านจุลชีพชนิดรับประทานและชนิดหยอดหู
-
-
ตา
3.1 Retinal Detachment
สาเหตุ
วุ้นตาเสื่อมจากอายุ(มักพบในผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปี)
การบาดเจ็บที่ตา,สายตาสั้นมาก,โรคเบาหวาน,
การฉีกขาดที่จอตา เช่นกัน RHEGMATOGENOUS RENTAL DETACHMENT (RRD) จากแรงดึงรั้งของวุ้นตา
-
พยาธิ
ในลูกตามีของเหลวใสคล้ายไข่ขาวที่ เรียกว่า วุ้นตาซึ่งยึดติดแน่นกับจอตาเมื่ออายุมากขึ้นเริ่มเหลวหดตัวและลอกตัวออกจากจอตา ส่งผลให้เกิดแรงดึงรั้งที่จอตาและอาจทำให้เนื้อเยื่อจอตาฉีกขาด (Tractional Retinal Detachment : TRD) หากน้ำที่อยู่ภายในวุ้นตาไหลผ่านรูฉีกขาดเข้าไปจะทำให้จอตาหลุดลอกออกมา (Exudative Retinal Detachment : ERD) ทั้งนี้ กลไกการเกิดจอตาลอกอาจเกิดร่วมกันมากกว่า 1 กลไกได้ เช่น มีทั้ง TRD และ RRD RRD แต่อย่างไรก็ตามหากการฉีกขาดของจอตามีบริเวณกว้าง และมีระยะเวลานาน จะส่งผลต่อความเสื่อมของเซลล์รับรู้การมองเห็นในจอตา
-
-
-
-
2.1 ต้อกระจก
-
-
พยาธิ
เลนส์ตาขุ่นจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรือทางชีวะเคมี โปรตีน เลนส์ตาเป็นเลนส์นูนใส ห่อหุ้มด้วยถุงหุ้มที่เหนี่ยวใสมีตัวยืดเลนส์ตา (singular fiber) ไว้ที่บริเวณ equator โดยรอบ 360 องศาเนื่องจาก sonule มีแรงดันเพิ่มขึ้น lens fiber จะถูกสร้างที่บริเวร equator และยึดแน่นเข้าส่วนกลางเป็นวงปีต้นไม้ ยิ่งอายุมากขึ้นเลนส์ตาจะมีขนาดหนาขึ้น
การรักษา
การใส่แว่นตาเพื่อปรับค่าสายตา การรักษาโดนการผ่าตัดต้อกระตก และใส่เลนส์ตาเทียม ไม่มียาหยอดตาหรือยารับประทาน
-
2.2 ต้อหิน
-
-
พยาธิ
โรคต้อหินจะมีความผิดปกติของการไหลเวียนน้ำหล่อเลี้ยงลูกตาทำให้ความดันลูกตาสูงขึ้น และเกิดการทำลายขั้วประสาทตามมา
-
-
2.3 กระจกตาอักเสบ
-
-
พยาธิสภาพ
เยื่อบุผิวกระจกตาเสียหาย เชื้อโรคจึงเจริญลึกสู่กระจกตา ทำให้เกิดการอักเสบ หนองในช่องหน้าม่านตา และอาจลุกลามจนกระจกตาทะลุ
-
-
-
-