Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อันตรายทางกายภาพ Physical Hazards - Coggle Diagram
อันตรายทางกายภาพ Physical Hazards
ความหมาย
อันตรายทางกายภาพ หมายถึง ปัจจัยหรือสภาพแวดล้อมในพื้นที่ทำงานที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพหรือความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน
ลักษณะของอันตรายทางกายภาพคือสิ่งที่สามารถสัมผัสหรือรับรู้ได้โดยประสาทสัมผัส เช่น การมองเห็น การได้ยิน หรือการสัมผัส
แนวทางป้องกันอันตรายทางกายภาพ
การปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทำงาน
การระบายอากาศ
การควบคุมแหล่งกำเนิดเสียงและความร้อน
การอบรมและให้ความรู้
ฝึกอบรมพนักงานเกี่ยวกับการป้องกันอันตราย
ซ้อมแผนฉุกเฉินในกรณีเกิดเหตุ
การใช้ PPE (อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล)
อุปกรณ์ลดการสั่นสะเทือน
ชุดป้องกันความร้อนและเย็น
ที่ครอบหู ปลั๊กลดเสียง
ประเภท
การสั่นสะเทือน (Vibration)
ประเภท
การสั่นสะเทือนทั้งตัว (Whole-body Vibration): เช่น การทำงานบนเรือ
การสั่นสะเทือนที่มือและแขน (Hand-Arm Vibration): เช่น การใช้เครื่องมือเจาะ
ผลกระทบต่อสุขภาพ
Hand-Arm Vibration Syndrome (HAVS): เช่น การเกิดภาวะเนื้อเยื่อแข็งตัว (Vibration White Finger)
Whole-body Vibration: เช่น อาการปวดหลัง ระบบไหลเวียนโลหิตผิดปกติ
เครื่องมือวัด
Vibration Meter: วัดการสั่นสะเทือนในแกน X, Y, Z
ความร้อน (Heat)
แหล่งกำเนิด:
งานกลางแจ้ง เช่น การก่อสร้าง การเกษตร
งานในโรงงาน เช่น โรงหลอมโลหะ โรงอบขนม
ผลกระทบจากความร้อน
Heat Stroke: อุณหภูมิร่างกายสูงเกิน 40.5°C อาจหมดสติหรือเสียชีวิต
Heat Exhaustion: อ่อนล้า คลื่นไส้ ปัสสาวะน้อย
Heat Rash: ผื่นแดงจากความร้อน
การประเมินความร้อน
ใช้ดัชนี WBGT (Wet Bulb Globe Temperature)
คำนวณค่าความร้อนเฉลี่ยในช่วงเวลาที่ร้อนที่สุด
เสียง (Noise)
ประเภทของเสียง
เสียงรบกวน (Noise): เสียงที่ทำให้เกิดความรู้สึกไม่สบาย เช่น เสียงเครื่องจักร
เสียงสุนทรียะ (Sound): เสียงที่ทำให้เพลิดเพลิน เช่น เสียงดนตรี
ผลกระทบของเสียงดังเกินมาตรฐาน
สูญเสียการได้ยิน (ชั่วคราวหรือถาวร)
ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบประสาททำงานผิดปกติ
การสื่อสารผิดพลาด อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุ
การไม่ได้ยินสัญญาณเตือนภัย
เครื่องมือวัดเสียง
Sound Level Meter: วัดระดับเสียงในพื้นที่
Noise Dosimeter: วัดเสียงสะสมที่พนักงานได้รับ
Impulse Noise Meter: วัดเสียงกระแทกหรือเสียงกระทบ
ความเย็น (Cold)
ผลกระทบจากความเย็น
Hypothermia: อุณหภูมิร่างกายต่ำกว่า 35°C
Frostbite: เนื้อเยื่อถูกทำลายจนเสียหาย
Raynaud’s Phenomenon: นิ้วซีดและชา
การตรวจวัดความเย็น
ใช้เทอร์โมมิเตอร์และวัดความเร็วลมร่วมกัน
รังสี (Radiation)
ผลกระทบ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
ผิวหนังอักเสบหรือมะเร็งผิวหนัง
เครื่องมือวัด
TLD Card: วัดรังสีที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับ
ประเภท
รังสีแตกตัว (Ionizing Radiation): เช่น รังสีเอกซเรย์
รังสีไม่แตกตัว (Non-Ionizing Radiation): เช่น รังสีอินฟราเรด
ความกดดันอากาศ (Pressure)
ผลกระทบ
Decompression Sickness: ฟองก๊าซในร่างกายทำให้เจ็บปวดหรือเสียชีวิต
ประเภท
ความกดดันสูง: พบในงานใต้น้ำ เช่น การดำน้ำ
ความกดดันต่ำ: พบในงานบนที่สูง เช่น การบิน
แสงสว่าง (Light)
อันตรายจากแสง
แสงน้อยเกินไป: ทำให้สายตาเมื่อยล้า อาจเกิดอุบัติเหตุ
แสงมากเกินไป: ทำให้ตาแสบหรือเกิดตาบอดชั่วคราว
เครื่องมือวัดแสง
Lux Meter: ใช้ตรวจวัดระดับแสงในสถานที่ทำงาน
การประเมินและมาตรฐานอันตรายทางกายภาพ
ต้องมีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะเสียง แสง และรังสี
การวัดค่าอันตรายต้องเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด