Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลของการจับ ที่มีต่อ คุณภาพของสัตว์น้ำ - Coggle Diagram
ผลของการจับ
ที่มีต่อ
คุณภาพของสัตว์น้ำ
ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพสัตว์น้ำที่มีชีวิต
ระยะเวลาการเติบโต
ถูกจับในระยะสืบพันธ์-->เครียดมาก-->อ่อนแอ-->ตายง่าย
การกินอาหาร
กินอาหารก่อนถูกจับ-->ต้องการออกซิเจนสูง-->ถ่ายมูลที่มีแอมโมเนียสูง-->การขนส่งต้องใช้ออกซิเจนสูง
โรค
เป็นโรคก่อนถูกจับ-->แบคทีเรียเจริญ-->ปนเปิ้อนสัตว์อื่นๆสูง
ความเครียด
เครียดระหว่างถูกจับ-->กลไกการป้องกันแบคทีเรียลดลง
อาการทุรนทุราย
เสียพลังงานมาก-->เครียด-->ตายระหว่างขนส่ง
จำแนกประเภทเครื่องมือประมง
ตามลักษณะการทำงาน
เคลื่อนที่
มีการเคลื่อนที่ด้วยแรงลม น้ำ คน เครื่องยนต์
เช่น อวนลาก อวนล้อม
ประจำที่
ใช้วิธีลงหลัก ปัก ผูก ขึง รั้ง ถ่วง
เช่น โป๊ะ โพงพางประจำที่
กึ่งประจำที่
ถูกยึดถ่วงรั้งให้อยู๋กับที่ระยะหนึ่งหรือจนสิ้นสุดการจับปลา แล้วจะเก็บอุปกรณ์ขึ้นเรือ
เพื่อนำไปใช้ที่อื่น เช่น อวนกุ้ง ลอบปู
ตามขนาดธุรกิจ
ประมงพื้นบ้าน
ไม่ใช้เรือ หรือ < 10 ตันกรอส
ประมงพาณิชย์
เรือ > 10 ตันกรอส
ตามกรรมวิธีในการจับสัตว์น้ำ
เบ็ด
เบ็ดเตล็ด
โป๊ะ
ลอบ
อวนติดตา
โพงพาง
อวนรุน
อวนครอบ
อ้วนช้อนฝอวนยก
คราด
อวนลาก
อวนกางกั้นแล้วลาก
อวนล้อมจับ
สาเหตุที่ทำให้สัตว์น้ำเสือมคุณภาพ
แบคทีเรีย
ทำลายกล้ามเนื้อของสัตว์น้ำ ทำให้เน่าเสีย
เอนไซม์ 3 กลุ่ม
เอนไซม์จากระบบย่อยอาหารภายในตัวสัตว์น้ำ
เอนไซม์ที่ถูกกระตุ้นให้ทำงานหลังจากสัตว์น้ำตาย
เอนไซม์จากแบคทีเรียที่ปนเปื้อน
ทางเคมี
ปฏิกิริยาเติมออกซิเจน
(กรดไขมันในสัตว์น้ำ
เป็นชนิดไม่อิ่มตัว)
ทางกายภาพ
การมีบาดแผลบนลำตัวกระตุ้นให้เสื่อมเสียเร็วขึ้น
ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพปลา
ระยะเวลาที่ถูกจับ
ยิ่งนาน คณภาพยิ่งลดลง
วิธีการจับ และ
การใช้เครื่องมือประมง
อวนลาก อวนลอย -->เวลาในการจับนาน-->ดิ้นรนต่อสู้
-->พันธะฟอสเฟตสูง-->เครียด-->เทโคลามีนในเลือดสูง
-->ตายในน้ำ-->pH เปลี่ยน-->เนื้อสัมผัสของปลาเปลี่ยน
ปลาที่จับได้โดยอวนลาก จะหมดแรงมากกว่าอวนล้อม
Gillnet เป็นเครื่องมือจับปลาที่ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม
ให้คุณภาพการจับที่ไม่ดี เพราะปลาต้องดิ้นรนนาน
การจับด้วยเบ็ดตกปลา การจับแบบจิ๊กกิ้ง การจับด้วยลอบถือ
เป็นวิธีการจับปลาที่มีคุุณภาพดีกว่า
ปลาจะเครียดเมื่อถูกอัดแน่นในอวนลาก
ปลาไม่ควรตายระหว่างกระบวนการจับ
แหล่งน้ำ
ปลาจากแหล่งน้ำนอกชายฝั่ง ปราศจากแบคทีเรียก่อโรค
มากกว่าปลาจากแหล่งน้ำใกล้ชายฝั่ง
ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพสัตว์น้ำที่ตายแล้ว
พยาธิสภาพ
ปรสิตเป็นสาเหตุทำให้การปนเปื้อนแบคทีเรียสูงขึ้น
สภาพการกินอาหาร
กินอาหารดี-->ไกลโคเจนในกล้ามเนื้อสูง-->ระยะการเกร็งตัวนาน
ระยะเจริญพันธ์
ใช้พลังงานมาก-->กล้ามเนื้อไม่แน่น-->ถ้าไม่แช่แข็ง จะสูญเสียของเหลวในตัวมาก
อาการทุรนทุราย
เสียพลังงานมาก-->ระยะเกร็งตัวเร็วสั้น
การปนเปื้อนของแบคทีเรียจากแหล่งน้ำ
หลังตาย กลไกขัดขวางแบคทีเรียหมด->แบคทีเรียบนผิวหนัง เหงือก ลำไส้ เจริญเติบโตเพิ่ม
อุณหภูมิในการเก็บรักษา
หลังตายทันทีความสดสูงสุด แล้วจะลดลง เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีและจุลินทรีย์ปนเปื้อน