Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 1 ปี 11 เดือน Dx scrub typhus pneumonia with severe…
ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 1 ปี 11 เดือน
Dx scrub typhus pneumonia with severe CROUP with severe sepsis
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล (CC)
ไข้ ไอเสียงก้อง หายใจเหนื่อย 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน (PI)
2 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล สังเกตมีตุ่มหนอง บริเวณแขนขวา มีไข้ต่ำ ๆ มารดาสงสัยว่าเป็นฝี ไม่ได้รักษาที่ไหน
1 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ ไอเสียงก้อง ซึม ไม่ Active จึงพาไปรักษาที่คลินิก อาการดีขึ้น ไม่มีไข้ แต่ซึม ไม่ Active
8 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้สูง ไอเสียงก้อง หายใจเหนื่อย ไปรักษาที่โรงพยาบาลวังเจ้า ได้ยารับประทาน อาการไม่ทุเลา
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้สูง ไอเสียงก้อง หายใจเหนื่อยมากขึ้น จึงพามารักษาที่โรงพยาบาลกำแพงเพชร
อาการและอาการสำคัญในปัจจุบัน 23/12/2567
ผู้ป่วยนอนรู้สึกตัว นอนตื่นเป็นพักๆ ไม่มีไข้ On ETT No 4 , Mark 12 cm. Ventilator setting PAC PIP 15 PEEP 6 RR 40 FiO2 0.4 หายใจสัมผัสกับเครื่อง on cyanosis O2 sat 98-100% Lung: Rhonhi BL Suction secretion สีขาวขุ่น ไม่เหนียว มีตุ่มสีดำบริเวณแขนขวา On NG tube for feeding ,NPO ยกเว้นยา on 5 % D/NNS 1000 ml. +KCL 16 mEq IV Rate 35 ml/hr ,on midazolam 29 mg + 5% D/W to 25 ml. IV 1ml/hr ,on Fentanyl 500mcg.+5%D/W to 25 ml. IV 1 ml/hr
สัญญาณชีพ T:36.1 C PR:170 bpm RR:40 bpm BP:84/45 mmhg O2 Sat 100%
ที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อม
ลักษณะบ้าน เป็นบ้านปูน 1 ชั้น มี 2 ห้องนอน 1 ห้องครัว 1 ห้องน้ำอยู่นอกบ้านไม่มีราวจับ รอบๆบ้านมีความสะอาด ร่มรื่น หมู่บ้านอยู่บนดอยในหุบเขา ญาติพี่น้องอาศัยอยู่ใกล้ๆกัน โดยรอบหมู่บ้าน ปกคลุมไปด้ายต้นไม้ และป่ารก เสี่ยงต่อสัตว์เรื่อยคลานและสัตว์มีพิษต่างๆ
ลักษณะอาการของโรค
ผิวหนังที่ถูกตัวไรกัด มักเป็นแผลบุ๋มสีดำลักษณะคล้ายแผลถูกบุหรี่จี้(Echar)
อาการไข้สูง ปวดศีรษะมากโดยเฉพาะบริเวณขมับและหน้าผาก
คลื่นไส้อาเจียน หูอื้อ เหงื่อออก หนาวสั่น ปวดเมื่อยตามตัวผื่นนูนแดงตามลำตัวและกระจาย
อาการที่พบบ่อย คือ ไอ เมื่อเอกซ์เรย์ปอดพบการอักเสบของเนื้อปอดส่วนใหญ่เป็นแบบ Interstitial inflration บางรายเป็นแบบ Alvcolar infiltration
ภาหะนำโรค
การรักษาทางยาในปัจจุบัน
คำสั่งเฉพาะวัน (Order for one day)
Fentanyl inj (mcg/ml) 100 mcg/ 2ml amp 10 mcg IV prn for agitation q 4-6 hr
Midazolam inj 5mg./ml. Amphule 30 mg + 5 % DW upto 50 ml IV drip 2 ml/hr (1 ml/hr = 1 mcg/kg/min titrate ครั้ง 1 ml/hr max 5 ml/hr)
Furosemide inj (Lasix) 20 mg./2ml Amp. (2 ml.)
10 mg IV after blood transfusion
คำสั่งตลอดไป (Order for Continuous)
Azithromycin Suspension 200
mg/5ml ขวด (15 ml.)2.5 cc @ OD ac
Tazocin inj 4.5 gm Vial
1000 mg iv q 8 hr (300mkday)
DOXYCYCLINE Cap 100 mg. เม็ด22 mg po q 12 hr(2.2mg/kg/dose)
Meropenem inj 1 gm 1 g. Vial270 mg iv q 8 hr (80 MKDay)
สรุปข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่สำคัญ
มีภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีการติดเชื้อที่ปอด
ประเมินความรู้สึกตัว ลักษณะสีผิว ปลายมือ–ปลายเท้า สีของริมฝีปาก เพื่อประเมินการได้รับออกซิเจนเพียงพอหรือไม่ เพื่อการวางแผนให้การพยาบาลได้อย่างเหมาะสม
ประเมินการอุดกั้นทางเดินหายใจและความต้องการในการดูดเสมหะ เช่น หายใจลำบาก อกบุ๋ม เขียว มีเสมหะขึ้นมาในท่อหลอดลมคอ ฟังเสียงปอดมีเสียงเสมหะ และดูดเสมหะทุกครั้งที่มีเสมหะ เพื่อให้ ทางเดินหายใจโล่ง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ ในผู้ป่วยรายนี้ On ventilator PIP 15, PEEP 6,RR40, Ti 0.5, FiO2 0.4
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ลดการรบกวนผู้ป่วยจากเสียง แสง วางแผนการพยาบาลให้เสร็จสิ้น ในช่วงเวลาเดียวกัน เพื่อให้ผู้ป่วยพักผ่อนอย่างเต็มที่ ลดอัตราการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
สังเกตและบันทึกอาการขาดออกซิเจน เช่น ดิ้น กระสับกระส่าย หายใจหอบ หายใจลำบาก อกบุ๋ม ปีกจมูกบาน เขียว ตัวลาย หากพบอาการเหล่านี้รีบให้การช่วยเหลือ และรายงานแพทย์ทันที
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยไม่สามารถหายใจได้เอง On ventilator มีเสมหะเหนียวข้น สีขาว ฟังเสียงปอด มีเสียง Crepitation
severe croup ประเมิน Downes scนre 5 คะแนน ( mild croup)
วัตถุประสงค์
ป้องกันการอุดกั้นทางเดินหายใจ และส่งเสริมให้ร่างกายรับออกซเจนอย่างเพียงพอ
เกณฑ์การประเมิน
1.ไม่มีอาการของการขาดออกซิเจน
ทางเดินหายใจโล่ง ฟังเสียงหายใจ ไม่มีเสมหะ
3.อัตราการหายใจ อยู่ในเกณฑ์ปกติ 24-40 /min
O2 sat > 95 %
ฟังเสียงปอดทั้ง 2 ข้าง ไม่มีเสียง Crepitation
ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับยาขยายหลอดลม Salbutamol Solution (20 cc) 0.5% 0.3 ml + NSS up to 4 ml NB q 6 hr ตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินความรุนแรงของภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน ด้วย Downes score หรือประเมินจากลักษณะทางคลินิก ได้แก่ ไอเสียงก้อง หายใจมีเสียง stridor ขณะพัก (stridor at rest)และอาการหายใจลำบาก
มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด
ข้อมูลสนับสนุน
Dx scrub typhus pneumonia with severe CROUP with severe sepsis
มีไข้สูง 38.2 C
WBC 8.1 10*3/uL
Neutrophil 24.5% (43.7-70.9)
Lymphocyte 64.4(20.144.5)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะติดเชื้อ
เกณฑ์การประเมิน
อุณหภูมิกาย อยู่ในเกณฑ์ปกติ 36.5-37.5 c
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการปกติ WBC 5.0-10 10*3/uLNeutrophil43.7-70.9% Lymphocyte 20.144.5%
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินภาวะติดเชื้อในร่างกาย เช่น อุณหภูมิกาย ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ รวมถึงการซักประวัติ เพื่อค้นหาสาเหตุของการติดเชื้อ
ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 2-4 ชั่วโมง เพื่อติดตามอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อ
ดูแลให้ผู้ป่วยมีความสมดุลของสารน้ำ และอิเล็กโตไลท์ โดยติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ หากพบความผิดปกติให้รายงานแพทย์
ลดการแพร่กระจายเชื้อ เช่นการล้างมือ ก่อนและหลังการทำหัตถการ หรือก่อนและหลังสัมผัสผู้ป่วย
ดูแลให้ได้รับยา Meropenem inj 1 gm 1 g. Vial 270 mg iv q 8 hr (80 MKDay) ตามแผนการรักษา และเฝ้าระวังผลข้างเคียง
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้ WBC Neutrophil Lymphocyte
ดูแลให้ได้รับยาAzithromycin Suspension 200mg/5ml ขวด (15 ml.) 2.5 cc@ OD ac ตามแผนการรักาษ
ดูแลให้ได้รับยา DOXYCYCLINE Cap 100 mg.เม็ด 22 mg po q 12 hr(2.2mg/kg/dose) ตามแผนการรักษา
มีภาวะไม่สมดุลสารน้ำในร่างกายเนื่องจากภาวะHypokalemia
ข้อมูลสนับสนุน
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ K+ =2.5
วัตถุประสงค์
แก้ไขระดับโพแทสเซียมให้กลับสู่ภาวะปกติและปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนของระดับโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
เกณฑ์การประเมิน
ไม่พบอาการและอาการแสดงของโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ K+ = 3.8-5 mmol/L
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะโพแทสเซียมในเลือดตje เช่น ง่วงซึม สับสน หายใจตื้นอ่อนล้า
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ อย่างน้อยทุก 1ชั่วโมงหรือถี่กว่านั้นเมื่ออาการไม่คงที่
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาเช่น KCl U-Potassium Chloride Sol 1 cc(คิดเป็น ซีซี) 1.33 mEq/ml. CC7.5 cc
q
6 hr x 3 dose ตามแผนการรรักษา
ประเมิน Urine output และติดตามค่าการทำงานของไตอย่างเคร่งครัด
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ Serum K+รายงานแพทย์ทราบเพื่อปรับแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ 5%D/NSS 1000 ml IV Rate 35 ml/hr (0,8MT) ตามแผนการรักษาของแพทย์
ไม่สุขสบายเนื่องจากไข้สูง
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ยา Paracetamol Infant Drop 60 mg/0.6ml ขวด
1 cc @ prn q 4-6 hr for pain&fever ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนให้เพียงพอ
ประเมินอุณหภูมิกาย ทุก 4 ชั่วโมง เพื่องวานการพยาบาลได้อย่างเหมาะสม
เมื่อมีอุณหภูมิกาย 37.5 c ดูแลเช็ดตัวด้วยน้ำอุ่น เพื่อให้คลายความร้อนในร่างกาย หากอุณหภูมิกายสูง 37.8 c ขึ้นไป ดูแลให้ได้รับยาลดไข้
เกณฑ์การประเมิน
อุณหภูมิกายลดลง
หรือ 36.5-37.5 c
ไม่มีอาการหนาวสั่น
วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยอุณหภูมิกายลดลง
ข้อมูลสนับสนุน T 38.2 RR.45 /min อ่อนเพลีย
ญาติมีความวิตกกังวลเรื่องโรคและ
การเจ็บป่วย
ข้อมูลสนับสนุน
มารดาร้องให้ มีหน้านิ่ว คิ้วขนวด กังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย
มารดาซักถามเกี่ยวกับปัญหาการเจ็บป่วย
วัตถุประสงค์
เพื่อคลายความวิตกกังวลของญาติ
และให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
เกณฑ์การประเมิน
สีหน้าสดชื่น ไม่มีหน้านิ่วคิ้วขมวด
ให้ความร่วมมือในการพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินระดับความวิตกกังวล โดยการซักถามและสังเกต การแสดงออกของญาติ
สร้างสัมพันธภาพ แนะนำตัว
พูดคุย ปลอบโยน ให้กำลังใจ พร้อมทั้งให้ข้อมูลเป็นระยะๆ
เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัยระบายความรู้สึก
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคแนวทางการรักษาพยาบาลที่อาจจะได้รับ
อธิบายให้ทราบถึงความจำเป็นในการใช้เครื่องมือ หรือการตรวจพิเศษต่างๆ
ก่อนให้การพยาบาลทุกครั้งต้องแจ้งให้ผู้ป่วยและญาติยินยอมก่อน
ให้ความช่วยเหลือในเรื่องบทบาทของญาติในขณะรับการรักษาในหอผู้ป่วย สอนในการให้ยาผู้ปวย ทางสายยาง เพื่อให้ญาติได้ให้การดูแลที่สามารถทำได้ เพื่อให้คลายความกังวลลง
การวินิจฉัยโรคแรกรับ
severe croup หมายถึง มีอาการไอเสียงก้อง อย่างรุนแรงรุนแรง ขณะพักมีเสียง stridor หายใจอกบุ๋ม กระสับกระส่าย ระดับความรู้สึกตัวลดลง อ่อนเพลีย
การวินิจฉัยโรคในปัจจุบัน
scrub typhus pneumonia with severe CROUP with severe sepsis หมายถึง Scrub typhus pneumonia เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Orientia tsutsugamushi ทำให้ปอดอักเสบส่งผลให้เกิดไข้สูง ไอ หายใจลำบาก และปอดทำงานผิดปกติ ร่วมกับ Severe croup คือ การติดเชื้อที่ระบบทางเดินหายใจส่วนบน โดยเฉพาะกล่องเสียงและหลอดลม ส่งผลให้เกิดอาการไอเสียงเห่า หายใจเสียงหวีด (stridor) และหายใจลำบาก ซึ่งอาจนำไปสู่การอุดกั้นของทางเดินหายใจ ร่วมกับ Severe sepsis คือการตอบสนองต่อการติดเชื้อที่รุนแรงทั่วร่างกาย ส่งผลให้เกิดการอักเสบที่รุนแรง อวัยวะต่าง ๆ ทำงานล้มเหลว เช่น ไต หัวใจ และปอด