Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (Lower urinary tract) - Coggle Diagram
ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
(Lower urinary tract)
ไต
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ (Biadder Stone)
การตรวจวินิจฉัย
•การซักถามประวัติทางการแพทย์ของผู้ป่วยเช่นประวัติอาการปวดบริโภคอาหาร วิตามิน เกลือแร่เสริมอาหาร
•การตรวจปัสสาวะ
•การเอ็กซเรย์ภาพช่องท้อง
•การตรวจเลือดดูการทำงานของไต
• การสองกล้องตรวจกระเพาะปัสสาวะ
ยากลุ่ม Alpha blockers
อาการ
ปัสสาวะกะปริดกะปรอย ปัสสาวะลำบาก ปวดเบ่งคล้ายยว่ายังถ่ายปัสสาวะไม่สุด ปวดแสบร้อน ปัสสาวะสะดุดและออกเป็นหยดปัสสาวะบ่อยหรือปัสสาวะไม่ออกเลย กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ปัสสาวะออกเป็นเลือดหรือมีสีน้ำตาลล้างเนื้อหรืออาจถ่ายปัสสาวะเป็นก้อนนิ่วหรือเม็ดกรวดทรายเล็กๆหรือปัสสาวะขุ่นขาวเหมือนผงแป้งฝุ่นอยู่
ปวดท้องน้อยเรื้อรังอาจร่วมกับปวดหลังเรื้อรัง
มีอาการปวดท้องน้อยมากปัสสาวะไม่ออกและมีปัสสาวะค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ
ปัสสาวะแสบร้อน ปวดท้องน้อย ปวดหลัง ปวดเนื้อตัว มีไข้มี อาการปวดข้อ
กรวยไตอักเสบ (Pyelonephritis)
การวินิจฉัย
เก็บตัวอย่างของเลือดและปัสสาวะเพื่อตรวจหาหนองหรือเชื้อแบคทีเรีย อาจต้องตรวจภาพฉายรังสีจาก CT เพื่อวินิจฉัยการอุดตันในระบบทางเดินปัสสาวะ
ยา
Ciprofloxacin (ไซโปรฟลอกซาซิน)
อาการ
ปัสสาวะมีกลิ่นคาว
คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดปัสสาวะตลอดเวลา
มีไข้ หนาวสั่น
มีหนองหรือเลือดปนอยู่ในปัสสาวะ
มีอาแสบเจ็บระหว่างปัสสาวะ
วิธีการป้องกัน
•ดื่มน้ำให้มากเพื่อขับเชื้อแบคทีเรียออกจากร่างกายผ่านการปัสสาวะ
•ไม่กันปัสสาวะไว้เป็นเวลานานและปัสสาวะเมื่อปวด
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ(Cystitis)
อาการ
ปวดปัสบ่อยมากกว่า10ครั้งต่อวัน
เจ็บบริเวณปลายหลอดปัสสาวะเมื่อปัสสาวะสุด
ปัสสาวะกะปริบกะปรอย
ปัสสาวะปนเลือด
ปัสสาวะแสบขัด
การตรวจวินิจฉัย
•ซักประวัติการเจ็บป่วย
•การตรวจปัสสาวะ เพื่อหาการติดเชื้อจากสิ่งแปลกปลอมที่อาจปนอยู่ในน้ำปัสสาวะ เช่น เชื้อแบคทีเรีย เลือด หรือเม็ดเลือดขาว
•การตรวจเพิ่มเติมอื่นๆ ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงและเรื้อรัง เช่น
-การส่องกล้องระบบทางเดินปัสสาวะ
-การถ่ายภาพรังสี เพื่อวินิจฉัยความผิดปกติในระบบทางเดินปัสสาวะ
ยา
•Cotrimoxazole (โคไตรม็อกซาโซล)
•Norfloxacin (นอร์ฟลอกซาซิน)
วิธีการป้องกัน
•หลีกเลี่ยงการกลั้นปัสสาวะนานๆ โดยไม่จำเป็นเพราะอาจทำให้แบคทีเรียในปัสสาวะที่ค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะเจริญเติบโตได้ดี
•ควรดื่มน้ำมากๆประมาณวันละ8- 10 แก้วต่อวันเพื่อช่วยขับเชื้อโรคออกจากร่างกายโดยเร็ว
•ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศทุกครั้งหลังปัสสาวะและอุจจาระเสร็จโดยเฉพาะผู้หญิงควรทำความสะอาดอวัยวะเพศจากข้างหน้าไปข้างหลังเสมอเพื่อลดการนำเชื้อโรคจากรูทวารและช่องคลอดเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ
ตรวจร่างกาย
ตรวจร่างกายโดยกลางค่ำกระเพาะปัสสาวะพบว่ากระเพาะปัสสาวะโตผิดปกติเนื่องจากมีปัสสาวะค้างอยู่หรือไม่รวมถึงตำแหน่งที่ปวด