Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
RT RC โรคนิ่วในไตบริเวณด้านขวา - Coggle Diagram
RT RC
โรคนิ่วในไตบริเวณด้านขวา
ประวัติการเจ็บป่วย
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
10ปีก่อนผู้ป่วยเป็นมีประวัติเป็นนิ่วหมอนัดมาทำการรักษาแต่ไม่มา6เดือนก่อนมีอาการปวดมากจึงมารพ.สามชุก referรพศ.แพทย์นัดมาผ่าตัด
อาการสำคัญ
ปัสสาวะขัดปวดบริเวณหลังด้านล่างขวารามไปทั่วร่างกาย6เดือนก่อน
cxr มีนิ้วแพทย์นัดมาผ่าตัด
แบบแผนที่3การขับถ่าย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะเนื่องจากแบบแผนการขับถ่ายเปลี่ยนแปลง
กิจกรรมทางการพยาบาล
1.ดูแลทำความสะอาดสะอาดบริเวณprerinew อยู่เสมอโดยเฉพาะบริเวณรอบๆสวยสวนปัสสาวะเช้าเย็น
2.สังเกตลักษณะ ปริมาณและสีของน้ำปัสสาวะ
3.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำเพียงพอต่อความต้องการ
4.บันทึกปริมาณน้ำที่ผู้ป่วยได้รับและปัสสาวะ
5.ดูแลถุงurine bag ให้อยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ
6.ดูแลสายสวนปัสสาวะไม่ให้มีการพับงอ
7.ควรเทปัสสาวะในถุงปัสสาวะในถุงเก็บปัสสาวะอย่างน้อยทุก3ชม.หรือมีปัสสาวะขนาด2/3ของถุงเก็บปัสสาวะ
เกณฑ์การประเมิน
1.อุณหภูมิร่างกายอยู่ระหว่าง36.0-37.4องศา
2.บริเวณperineow สะอาดและไม่อับชื้น
3.น้ำปัสสาวะใสไม่ทีตะกอนขุ่น
วัตถุประสงค์
ป้องกันการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ข้อสนับสนุน
O=ผู้ป่วยไม่สามารถดูแลความสะอาดสายสวนปัสสาวะได้เอง
มีท่อเปิดสู่กระเพาะปัสสาวะทำให้มีโอกาสที่เชื้อโรคจะเข้าไปทางเดินปัสสาวะได้ง่าย
O=ผู้ป่วยใส่สายสวนปัสสาวะก่อนไปผ่าตัด
Bacteria ผล manyพบแบคทีเรียจำนวนมาก
การประเมินผล
ผู้ป่วยไม่เกิดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
แบบแผนที่3 การขับถ่าย
ผู้ป่วยใส่สายสวนปัสสาวะ และถุงรองรับปัสสาวะ หลังผ่าตัดปัสสาวะสีแดง หลังจากผ่าตัด1วันปัสสาวะสีเหลือง
ปัสสาวะวันละ7-10ครั้ง/วัน
การตรวจไต:กดเจ็บ คลำพบก้อน
ไม่มีcolostomy
อุจจาระเหนียวเหลว1ครั้ง/วัน
ไม่พบริดสีดวง
แบบแผนที่4กิจกรรมทางกายและการออกกำลังกาย
แบบแผนที่4 กิจกรรมทางกายและการออกกำลังกาย
-ระบบกล้ามเนื้อและข้อ
1.ความแข็งแรง ของกล้ามเนื้อ: M OTOR POWERแขนขวา grade 5
แขนซ้าย grade 5
ขาซ้าย grade 5 ขาขวา grade 5
2.อาการบวมแข็งของข้อ: ไม่มีลักษณะบวมบริเวณ
3.การเคลื่อนไหวของข้อ:สามารถเคลื่อนไหวข้อได้ปกติ
4.ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อมัดใหญ่:สามารถต้านแรงได้ดี
กล้ามเนื้อมัดเล็ก: สามารถต้านแรงได้ดี
-ระบบหายใจ
1.ลักษณะการหายใจ/การขยายตัวของปอด :สม่ำเสมอ ปอดขยายเท่ากัน
2.เสียงปอด/เสียงลม:ปกติ
3.ใช้oxygen กลังผ่าตัดชนิดcannula ขนาด4ลิตรoffวันที่3/11/67เวลา08:30น.
-ระบบหัวใจและหลอดเลือด
1.อัตราการเต้นของหัวใจ20ครั้ง/นาทีจังหวะสม่ำเสมอ
2.เสียงหัวใจ:ปกติ
3.ลักษณะเส้นเลือด ไม่นูน เล็ก
-การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
แบบแผนที่6สติปัญญาและการรับรู้
-การรับทางประสาทสัมผัสและการตอบสนอง
1.การตรวจตา/การมองเห็น :ลืมตาได้เองมองเห็นปกติ
2.การตรวจรับรส/รับกลิ่น:สามารถบอกรสชาติได้ สามารถบอกได้ว่าคือกลิ่นอะไร
3.ตำแหน่งที่มีอาการปวด/อาการชา:ผู้ป่วยบอกว่าปวดร้าวไปถึงบริเวณ ขมับ และด้านหลัง
4.ระดับความรู้สึกตัว:E4V5M6
5.ปฏิกิริยาต่อแสงและรูม่านตา:2.5mm
6.มีปฏิกิริยาสะท้อนREFLEX:ปกติ
7.ความสามารถทางสติปัญญาและความรู้ความจำ :ปกติ
ข้อวิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สุขสบาย เนื่องจากปวดแผลผ่าตัด
เกณฑ์การประเมิน
-ผู้ป่วยพักผ่อนได้
-ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่นไม่แสดงถึงความเจ็บปวด
-สัญญาณชีพไม่เปลี่ยนแปลง
-ระดับ Pain score ลดลงจากเดิม
-ผู้ป่วยบอกไม่มีอาการปวด
วัตถุประสงค์การพยาบาล
-ผู้ป่วยพักผ่อนได้
-ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่นไม่แสดงถึงความเจ็บปวด
-สัญญาณชีพไม่เปลี่ยนแปลง
-ระดับ Pain score ลดลงจากเดิม
-ผู้ป่วยบอกไม่มีอาการปวด
การประเมินผลการพยาบาล
-ภายหลังให้การพยาบาล ประเมินประเมินผลตามการประเมินที่กำหนด
ข้อมูลสนับสนุน
O=ผู้ป่วยแสดงอาการปวด ไม่เคลื่อนไหวบริเวณที่ปวด
O= สีหน้าแสดงอาการเจ็บปวด
O=ระดับ Pain score = 8
-ผู้ป่วยนอนไม่หลับ
-ผู้ป่วยมีอาการอักเสบ/ติดเชื้อร่วมกัน
วัตถุประสงค์
มีความรู้สึกสบาย อาการปวดทุเลาลง
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการปวด โดยใช้ Pain score ทุก 2 ชั่วโมง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาบรรเทาอาการปวดตามแผนการรักษา หาก Pain score มากกว่า 5
ประเมิน Pain score หลังให้ยาบรรเทาปวด
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 2 ชั่วโมง
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบถึงสาเหตุของการปวด พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ซักถาม
ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล
จัดให้ผู้ป่วยนอนในท่าที่สุขสบายและเหมาะสม
ดูแลสายระบาย (Drain) ไม่ให้ดึงรั้งหรือพับงอ และทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลไม่ให้ผ้าพันแผลรัดแน่น ยกสูงและคลายออกหากรักแน่น
10.แนะนำให้ผู้ป่วย ประคับประคองแผลขณะเคลื่อนไหวไอจามและสอนให้ผู้ป่วยไออย่างมีประสิทธิภาพ
11.อธิบายและประเมินการให้ยาบรรเทาปวดทางหลอดเลือดดำชนิด ใช้เครื่องมือให้ยาแก้ปวดโดยผู้ป่วยสามารถกดยาแก้ปวดจากเครื่องได้ด้วยตนเองภายใต้การดูแลของแพทย์(Patient-Controlled Analgesia; PCA) หรือให้ยาระงับปวดโดยวิธีการใส่สายสวนเข้าทางช่องเหนือช่องน้ำไขสันหลังเพื่อใช้สำหรับให้ยาระงับปวดโดยผู้ป่วยเป็นผู้ควบคุมการให้ยาพยาบาลบนหอผู้ป่วยดูแลและเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องตามแผนการรักษา (Patient-Controlled Epidural Analgesia; PECA)
12.จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ เพื่อลดสิ่งกระตุ้น
13.แนะนำให้ใช้เทคนิคผ่อนคลาย เช่น อ่านหนังสือ ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง เป็นต้น
แนะนำให้ทำการบริหารปอด (ในกรณีที่ทำผ่าตัดที่ท้องใน1-2วันแรก หากผู้ป่วยเจ็บมากอาจจะยังไม่แนะนำให้นวด
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อ เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก
ข้อมูลสนับสนุน ○: ผู้ป่วยได้รับยาระงับความรู้สึกชนิด GA
ผู้ป่วยon oxygen cannula4ลิตร
เคยมีประวัติหอบหืด
กิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมิณระดับความรู้สึกตัวและประเมิณสัญญาณชีพทุก 15 นาที 4ครั้ง 30 นาที 2 ครั้ง และหลังจากนั้นทุก 1 ชั่วโมง จนกว่าสัญญาณชีพจะคงที่ เพื่อติดตามและเฝ้าระวัง ภาวะพร่องออกซิเจน
ประเมินอาการคลื่นไส้ อาเจียน ซึ่งมักเกิดจากผลของยาระงับความรู้สึก หากมีอาการ ควรให้การช่วยเหลือโดยจัดให้นอนตะแคงและสอดชามรูปไดไว้ใกล้ปากเพื่อรองรับ อาเจียนดูแลใหบ้วนปากจนสะอาด หากยังมีอาการต่อเนื่องควรรายงาน แพทย์เพื่อพิจารณาแผนการรักษา เพื่อความสุขสบายป้องการสาลักเข้าปอด และหาก อาเจียนมากเกินไปจะมีความเสี่ยงต่อการสูญเสียสมดุลน้ำและเกลือแร่ได้
ประเมินและบันทึกจำนวนปัสสาวะที่ออกมาอย่างน้อยทุก2ชั่วโมงใน 24 ชั่วโมงแรก ตามจํานวนสารน้ำ ที่ใดรับทางหลอดเลือดศาหากจํานวนปัสสาวะออกน้อยกว่า 0.5 ml/kg/hr ควรรายงานแพทย์เพื่อพิจารณาแผนการรักษา ในกรณีที่ไม่ได้ใส่สายสวน ปัสสาวะควรประเมินความตึงตัวของกระเพาะปัสสาวะ และความสามารถของผู้ป่วยใน การถ่ายปัสสาวะภายใน 6-8 ชั่วโมงหลังผ่าตัด เมื่อครบ 8 ชั่วโมงแล้วและผู้ป่วยยังไม่ ถ่ายปัสสาวะ กระตุ้นให้ผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะ ถ้าผู้ป่วยังไม่ถ่ายปัสสาวะ รายงานแพทย์ เพื่อพิจารณาแผนการรักษา เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการมีปัสสาวะมากและ นานเกินไป อาจทำให้กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะเสียการหดรัดตัว
การประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีอาการแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก
วัตถุประสงค์ ลดความเสี่ยงการเกิดภาวะแทรกซ้อน เกณฑ์การประเมินผล -ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก
แบบแผนที่7 การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
การสังเกตพฤติกรรมที่แสดงถึง/การกล่าวถึงการรับรู้ตนเอง ต่อรูปลักษณ์ความสามารถในตนเองที่เพิ่มขึ้น/ลดลง :ผู้ป่วยลักษณะสีหน้าปกติเมื่อกล่าวถึงความสำนึกนึกคิดต่อรูปร่างหน้าตา
-การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยครั้งแรกr/o KUB stone
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
การวินิจฉัยครั้งสุดท้ายRT RCนิ่วในไต
แบบแผนที่2 อาหารและการเผาผลาญอาหาร
มีอาการอ่อนเพลีย เนื่องจากเลือดออกเยอะจากการผ่าตัด
กิจกรรมทางการพยาบาล
1.ให้กำลังใจในการทำกิจกรรมเพื่อช่วยสร้างความเชื่อมั่นและเสริมสร้างความมั่นใจให้ผู้ป่วย
2.ให้ความช่วยเหลือในกิจกรรมที่ทำหลังเกิดความเจ็บปวดเพื่อให้ผู้ป่วยรู้ว่ามีผู้คอยสนับสนุน และช่วยให้ผู้ป่วยสามารถทำกิจกรรมได้มากขึ้น
3.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารให้มากขึ้นหลังผ่าตัดเพื่อให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมได้มากขึ้นเพื่อลดความเจ็บปวด
4.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้นอนอย่างเต็มที่เพื่อสถาพแวดล้อมที่สงบเหมาะสมกับการพักผ่อน
5.เปลี่ยนสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ผู้ป่วยสดชื่นขึ้นเพื่อช่วยให้รู้สึกผ่อนคลายและลดความเครียด
6.ให้การสนับสนุนทางด้านจิตใจเพื่อส่งเสริมความมั่นใจให้ผู้ป่วย
7.แนะนำการหายใจเข้าลึกๆหรือการผ่อนคลายกล้ามเนื้อเพื่อลดความตึวเครียด
8.ติดตามผลการตรวจแบะการประเมินผลร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้ป่วยบอกว่า รู้สึกสดชื่นมีแรงขึ้นหน้าตาสดชื่นแจ่มใส
2.ทำกิจวัตรประจำวันของตัวเองได้มากขึ้น
3.สนใจสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวมากขึ้น
ข้อมูลสนับสนุน
S:ผู้ป่วยบอกว่ารู้สึกเหนื่อย อ่อนเพลีย
O:อ่อนเพลีย เหนื่อย
EBL200ml
วัตถุประสงค์
1.ผู้ป่วยหน้าตาสดชื่นขึ้น
2.มีแรงและไม่อ่อนเพลียขึ้น
การประเมินผล
2.สามารถทำกิจกรรมกิจวัตรประจำวันได้ดีขึ้น
1.ผู้ป่วยสดชื่นหน้าตาสดชื่นแจ่มใส
ตรวจร่างกาย
1.ผิวหนังชุ่มชื้น ไม่มีอาการบวม
2.ผมดำ สุขภาพดี
3.เล็บยาวเล็กน้อย
4.ตา มองเห็นชัดตาเหลืองเล็กน้อย
5.ช่องปากและฟัน ปากไม่แห้งไม่มีฟันผุ
6.คอ ตอตั้งตรง คลำไม่พบก้อน
7.ลักษณะท้อง
-ท้องอืด ไม่พบลักษณะท้องอืด
-เสียงลำไส้:bowel sound10ครั้ง/นาที
-ก้อนในท้องคลำ พบก้อนบริเวณเอว :
-ตับ,ม้าม ไม่พบตับหรือม้ามโต
8.ต่อมน้ำเหลือง: ปกติไม่พบ
9.ไทรอยด์: ปกติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Cbc
Hb 11.5g/dl ต่ำกว่าปกติ
Hct 36.7% ต่ำกว่าปกติ
Platalet count 295,000cell/ul ค่าปกติ
Rbc 4.30ค่าปกติ
แบบแผนที่5การพักผ่อนนอนหลับ
-การนอนหลับ:ผู้ป่วยอ่อนเพลีย เหนื่อย นอนหลับเยอะ
-การผ่อนคลาย:นอนพักผ่อน พูดคุยกับญาติ
-การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
แบบแผนที่1การรับรู้สุขภาพและการดูแลสุขภาพ
ขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
วัตถุประสงค์
เพื่อลดความวิตกกังวล
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวล สีหน้าสดชื่น
2.ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตัวได้
ถูกต้องและไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวล สีหน้าสดชื่น
2.ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตัวได้
ถูกต้องและไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
ข้อมูลสนับสนุน
S= สีหน้าวิตกกังวล ผู้ป่วยบอกว่ากลัวการผ่าตัด
S=กลัวอันตรายจากการผ่าตัด กลัวไม่ฟื้น
O=สอบถามการปฏิบัติตัวก่อนผ่าตัด
การประเมินผล
1.ผู้ป่วยมีสีหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส
2.ผู้ป่วยเข้าใจและสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
กิจกรรมทางการพยาบาล
1.ประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการผ่าตัด และการปฏิบัติตัว
2.อธิบายเหตุผลของการผ่าตัด ปลอบใจให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวล
3.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด สอนวิธีการหายใจ การไออย่างมีประสิทธิภาพ การพลิกตะแคงตัว
4.แนะนำให้ผู้ป่วยดูแลทำความสะอาดร่างร่างกาย อาบน้ำ สระผม ตัดเล็บมือเล็บเท้าให้สั้นก่อนวันผ่าตัด
5.ดูแลให้ผู้ป่วยได้นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ อย่างน้อย 8 ชั่วโมงในคืนก่อน
6.วันผ่าตัดให้งดน้ำและอาหารหลังเที่ยงคืน
7.ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
8.วัดสัญญาณชีพก่อนเข้าห้องผ่าตัด
ลักษณะสุขภาพโดยทั่วไป : ผู้ป่วยใส่ชุดโรงพยาบาล ไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ นอนติดเตียง สะอาดเรียบร้อย
การให้ความร่วมมือในการรักษา : ผู้ป่วยและญาติให้ความร่วมมือในการรักษาดี
ความสะอาดความเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมของผู้รับบริการ : บริเวณรอบๆเตียงสะอาดเรียบร้อย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ:-
แบบแผนที่8บทบาทและความสัมพันธภาพ
-สังเกตได้ว่ามีญาติมาเฝ้าทุกวันและให้มีกำลังใจกันอยู่เสมอ
-มีปฏิสัมพันธ์กับครอบครัวดี
-ไม่มีอุปสรรคในการพูดคุย
แบบแผนที่9 เพศและการเจริญพันธุ์
-การพัฒนาตามเพศและการเจริญพันธุ์
1.เพศหญิง แต่งกายด้วยชุดโรงพยาบาล สะอาด มีสีหน้ายิ้มแย้มแจ่มใสถามตอบได้ปกติ
2.การตรวจร่างกาย
เต้านม:ปกติทั้ง2ข้างคลำไม่พบก้อน
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้ปกติไม่มีการบวมโต คลำไม่พบก้อน
อวัยเพศไม่มีรอยโรค
3.ไม่พบการตรวจครรภ์
-การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
พยาธิสภาพ
นิ่วที่เกิดการอุดตันขึ้น ทำให้มีแรงดันเพิ่มขึ้นเหนือได้และกรวยไต โดยกล้ามเนื้อไตและกล้ามเนื้อกรวยไตจะมีการบีบตัวแรงขึ้น เพื่อฝลักดันน้ำปัสสาวะให้ผ่านลงมายังท่อไตได้ตามปกติ
1.ระยะชดเชย(Compensatory)
กล้ามเนื้อไตและกล้ามเนื้อกรวยไตจะหนาขึ้น ซึ่งไตยังคงทำงานได้ปกติ
2.ระยะชดเชยไม่ได้(Decompensatory)
การอุดตันนี้ยังไม่ได้รับการแก้ไข กล้ามเนื้อไตและกล้ามเนื้อกรวยไตจะอ่อนแรง บางลงและพองออก เริ่มจากผนังกรวยไต ยึดขยาย บางลง พองออกและมีน้ำชังอยู่ และสิ้นสุดลงด้วยผนังของเนื้อไตถูกเบียดจนบางลงและพองออกเต็มไปด้วยน้ำ
แบบแผนที่10การปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
เกณฑ์การประเมิน
1.ผู้ป่วยไม่มีสีหน้าวิตกกังวล
2.สอบถามผู้ป่วยมีความวิตกกังวลลดลงไหม?
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความจำเป็นใน การตัดนิ่วในไตและขั้นตอนต่างๆ ในการผ่าตัดรวมททั้งการ ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยเกี่ยวกับทีมบุคลากรสุขภาพ ที่จะคอยดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดท้ังก่อน และหลังผ่าตัด
2.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความร้สึกต่างๆและซักถามข้อสงสัย โดยพยาบาลเป็นผู้ฟังที่ดี
แนะนำให้ผู้ป่วยพูดคุยกับผู้ป่วยรายอื่ย ที่ได้รับการตัดนิ่วไปแล้ว และประสบความสำเร็จใน การฟ้ืนฟูสภาพ
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลและเข้าใจ แผนการรักษาโดยการผ่าตัดและให้ความร่วมมือใน การรบัการรักษาเกณฑก์ารประเมนิผลผ้ปูว่ยมสีีหน้า ท่าทางดีข้ึน พูดคุยตามปกติและพร้อมที่จะรับการ รักษาโดยการผ่าตัดขา
ข้อมูลสนับสนุน
S:ผู้ป่วยบอกว่ากลัวการผ่าตัด เครียด
O:ผู้ป่วยมีสีหน้าวิตกกังวลเศร้าหมอง
วิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด
การประเมินผล
ผู้ป่วยมีสีหน้าท่าทางดีขึ้นพร้อมที่จะได้รับการผ่าตัด