Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6P ระยะที่ 1 ของการคลอด Case G1P0 GA40+3 Wks. By U/S Dx. Labour pain with…
6P ระยะที่ 1 ของการคลอด
Case G1P0 GA40+3 Wks. By U/S Dx. Labour pain with CPD
Power
Primary power
Active phase
ปกติ G1 I 2-3 นาที D 60-90 วินาที Intensity moderate-strong
มารดา G1P0 I 2 นาที 30 วินาที D 60 วินาที Intensity strong
Good contraction
Latent phase
ปกติ G1 I 4-10 นาที 20-40 วินาที Intensity mild
มารดา G1P0 I 5 นาที D 45 วินาที Intensity mild
Good contraction
Secondary power
วิตกกังวล
จากการสังเกตุมารดามีสีหน้าวิตกกังวล เเละจากการสอบถามมารดาบอกว่า “I want to normal darivery”
อ่อนเพลีย
Passages
Bony
Pelvic inlet
ลักษณะเป็นรูปรีตามขวาง มีขอยด้านหน้าเป็นขอบบนของกระดูกหัวเหน่า ด้านข้างเป็น linea terminalis ด้านหลังเป็น promontory of sacrum มี transverse diameter ยาว 13 cm.
การตรวจครรภ์ท่าที่ 3 คือ Pawilk’s grip จะพบว่าไม่สามารถโยกได้ และประเมิน จากการตรวจครรภ์ท่าที่4Bilateralinguinalgripพบว่ามือไม่สามารถ สอบหากันได้ แสดงให้เห็นว่าส่วนทําของทารกเคลื่อนเข้าสู่ช่องเชิงกราน(Engagement) ส่วนนําของทารกสามารถผ่านเข้าสู่ Pelvic inlet ได้
Pelvic cavity
มีกระดูกเชิงกรานแบบ Gynecoid type และกระดูก Ischial spine ไม่แหลมและไม่ยื่น มีเส้นผ่านศูนย์กลางตามเเนว tranverse diameter 10 cm.
หญิงตั้งครรภ์รายนี้มี ischial spine ค่อนข้างแหลม มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8 cm.
ทารกไม่สามารถเข้าสู่ pelvic cavity ได้
Pelvic outlet
ช่องเชิงกรานเป็นรูปรีตามแนวตั้ง ด้านบน เป็นกระดูก symphysis pubis ด้านล่างเป็นกระดูก coccyx ด้านข้างเป็นกระดูกเป็นกระดูก ischial tuberosities มีมุมของ Supra pubic arch มากกว่า 85 องศา
Soft pssages
ช่องคลอด
มารดาช่องคลอดปกติ ไม่มีการตีบ ไม่มีผนังกั้น
ปากมดลูก
ระยะ Active phase
Phase of maximum slope
(Cx 4-9 cm.)
G1 ปากมดลูกมีการเปิดขยาย 1.2 cm. ต่อชั่วโมง
มารดา G1P0
เวลา 12.00 น. PV พบปากมดลูกเปิด 4 cm.
เวลา 13.20 น. PV พบปากมดลูกเปิด 6 cm.
เวลา 15.30น. PV พบปากมดลูกเปิด 7 cm.
เเสดงให้เห็นว่ามารดามีการเปิดของปากมดลูกที่ล่าช้า เนื่องจากผ่านไป 3ชั่วโมง 30 นาที ปกติปากมดลูกต้องเปิดถึง 8.2 cm. เเต่เคสนี้เปิดเพียง7 cm. เเละเวลา 15.30 น.ควรเปิด 8.2 cm.
Secondary arrest of dilatation
ปากมดลูกเปิดเพิ่มขึ้นหลังจากการตรวจทางช่องคลอด 2 ครั้ง ห่างกันมากกว่า 2 ชั่วโมง
มารดา G1P0
เวลา 13.20 น. PV พบปากมดลูกเปิด 6 cm
เวลา 12.00 น. PV พบปากมดลูกเปิด 4 cm.
เวลา 15.30น. PV พบปากมดลูกเปิด 7 cm.
ไม่มีภาวะ Secondary arrest of dilatation
ปากช่องคลอด
มารดาไม่มีการตีบของปากช่องคลอด ฝีเย็บไม่เเข็งตึง ไม่มีอาการบวม
มดลูก
มดลูกปกติ ไม่มี anteflexion, retroflexion, prolapsed uterus เเละ myoma
Passenger
ทารก
ส่วนนำ
ปกติส่วนนำเป็นศีรษะ
ทารกรายนี้มีส่วนนำเป็นศีรษะ
ส่วนนำของศีรษะเคลื่อนต่ำ1cm./ 1 ชั่วโมง ในครรภ์เเรก
มารดา G1P0
เวลา 12.00 น. Station -1
เวลา 13.20 น. Station 0
เวลา 15.30 น. Station 0
เเสดงให้เห็นว่ามารดามีการเคลื่อนต่ำของศีรษะทารกช้า เนื่องจากเวลา 13.20 น.ถึง 15.30 น. ซึ่งมีจำนวน 2ชั่วโมง 10 นาที ปกติstationต้องอยู่ที่ +2
position
ปกติ ส่วนนำเป็นศีรษะ ส่วนของท้ายทอยอยู่ด้านหน้าช่องเชิงกราน
จากผล U/S วันที่ 27/11/67 พบ ทารกรายนี้อยู่ในท่า LOP
attitude
ทารกรายนี้เป็นปกติคือ ใช้ Vertax เป็นส่วนนำ
ขนาด
ปกติไม่เกิน 4000 g. HF +-2 cm.จาก GA
จากผล U/S วันที่ 27/11/67 พบทารกมีน้ำหนัก 3015 กรัม GA 40+3 wks. HF 37 cm.
physical condition
เหนื่อยล้าอ่อนเพลีย
มารดามีอาการอ่อนเพลียจากการเจ็บครรภ์
เป็นโรคหัวใจ หอบหืด โรคไต ความดันโลหิตสูง มีเลือดออกก่อนการเจ็บครรภ์
มารดาปฏิเสธโรคประจำตัว
มารดามีน้ำหนักมากกว่า 70 กิโลกรัม หรือ BMI มากกว่า 26.1 Kg/m2
มารดามีน้ำหนัก 66 กิโลกรัม
มารดาสูงน้อยกว่า 145 cm.
มารดาสูง 155 เซนติเมตร
มารดามีอายุมากกว่า 35 ปีหรือน้อยกกว่า 17 ปี
มารดาอายุ 23 ปี
psychological
ความเครียดความวิตกกังวล
มารดาวิตกกังวลเนื่องจากจะได้รับการผ่าตัดทางหน้าท้อง
ความปวด
Pain score 7-10 คะเเนน
ไม่สุขสบายเนื่องจากมีการเจ็บครรภ์คลอดจากการหดรัดตัวของมดลูก
position
ท่าที่ส่งเสริมการคลอด
ท่าศีรษะสูง (upright position)
semi sitting position
rocking motion
ท่านั่ง (sitting position)
ท่ายืน (standing position)
ท่านั่งยอง(squatting position)
ท่าคลานคุกเข่า(kneeling position)
การเดิน(walking)
มารดาสามารถเดินไปเข้าห้องน้ำได้เอง
CPD with fetaldistress
CPD
ภาวะศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับเชิงกราน ส่งผลให้ศีรษะทารกไม่สามารถผ่านช่องเชิงกรานออกมาได้
Prolong labor
Prolong latent phase
ครรภ์เเรกปากมดลูกเปิดใช้เวลามากกว่า 20 hr. ครรภ์หลังใช้เวลามากว่า 14 hr.
Active phase disorder
Protracted dilatation
ครรภ์เเรกปากมดลูกเปิดน้อยกว่า1.2 cm./hr. ครรภ์หลังน้อยกว่า 1.5 cm./hr.
Protracted descent
ครรภ์เเรกส่วนนำเคลื่อนต่ำน้อยกว่า 1 cm./hr. ครรภ์หลังน้อยกว่า 2 cm./hr.
มีการคลอดยาวนานเนื่องจากช่องเชิงกรานแคบเเละมดลูกหดรัดตัวลดลง
ส่วนนำของทารกมีการกดที่ช่องเชิงกรานเป็นเวลานาน
อาจเกิดภาวะ Umbilical cord compression(สายสะดือถูกกด)
เลือดเเละO2ไปเลี้ยงทารกลดลง
เกิดภาวะ Fetal distress
ทารกมีภาวะfetal distress เนื่องจากส่วนนำของทารกกดช่องเชิงกรานเป็นเวลานาน
Posterior pituitary gland
หลั่ง oxytocin มากขึ้น
มดลูกหดรัดตัวมากขึ้น
การไหลเวียนเลือดที่มดลูกลดลง
มรการฉีกขาดของเนื้อเยื่อเเละหลอดเลือดฝอย
หลั่ง Bradykinin, Serotonin, Substance, Postassium,WBC, Histamine
1 more item...
ระยะท้ายของการตั้งครรภ์
กล้ามเนื้อมดลูกขยายเต็มที่
กล้ามเนื้อมดลูกขยายตัวเต็มที่