Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ข้อมูลมีค่า - Coggle Diagram
บทที่ 1 ข้อมูลมีค่า
1.3 กระบวนการวิทยาการข้อมูล (data science process)
2.การเก็บข้อมูล(get the data)
4.การวิเคราะห์ช้อมูล(analyze the data)
3.การสำรวจข้อมูล(explore the data)
1.การตั้งคำถาม(ask and interest question)
5.การสื่อสารและทำผลลัพธ์ให้เป็นภาพ
1.1 ยุคของข้อมูลและสารสนเทศ (information age)
ชนิดของข้อมูล
4) ข้อมูลเสียง ได้แก่ เสียงที่บันทึกไว้ด้วยแถบเสียง หรือบันทึกเป็นข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์และใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล เช่น การบริการสารสนเทศผ่านทางโทรศัพท์ของธนาคารต่าง ๆ ซึ่งการบริการนี้ได้ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการประมวลผลและให้ผลลัพธ์เป็นเสียงตอบกลับมาทางโทรศัพท์
3) ข้อมูลรูปภาพ ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นภาพถ่ายหรือภาพลายเส้น เช่น ภาพถ่าย แบบก่อสร้างอาคาร ภายลายเซ็น
2) ข้อมูลอักขระ ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ตัวเลขที่ไม่ใช้ในการคำนวณ หรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง หรืออาจเป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ผสมกัน เช่น ชื่อโรงเรียน เบียนรถยนต์ สห 191 หมายเลขโทรศัพท์ 08-21860207 เลขที่บ้าน 70/3 ซึ่งเป็นตัวเลขและสัญลักษณ์ เป็นต้น
1) ข้อมูลตัวเลข ได้แก่ ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนซึ่งจะนำไปใช้ในการคำนวณ
1.2 วิทยาการข้อมูล (data science)
วิทยาการข้อมูล (data science)
1.4 ข้อมูลช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับบริการหรือผลิตภัณฑ์ เรื่องของข้อมูลที่ดินที่เหมาะก้บการปลูกพืชชนิดใด จากการเก็บข้อมูลและประมวลผลผ่านระบบแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจุดการเชิงรุกออนไลน์ (Agri-Map online) ของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทำให้สามารถเสนอทางเลือกในการปลูกพืชทดแทนที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ทางภูมิศาสตร์ แหล่งจำหน่ายและการตลาด ช่วยเกษตรกรเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์การเกษตรของตนเองไ
1.3 ข้อมูลช่วยในการตัดสินใจ เรื่องของการระบาดของอหิวตกโรค จากการเก็บข้อมูลทำให้หมอจอห์น สโนว์ (Dr.john Snow) จัดทำแผนที่การกระจายของผู้ป่วยจากจำนวนและตำแหน่งที่พบผู้ป่วยจำนวนมาก และตั้งสมมติฐานว่าการระบาดเกิดจากแหล่งน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อโรค ที่พบผู้ป่วยตายจำนวนมาก เมื่อเทียบกับแหล่งน้ำอื่น ๆ ทำให้หมอตัดสินใจยกเลิกการใช้แหล่งน้ำนั้น ทำให้การแพร่ระบาดของโรคหยุดลง
1.2 ข้อมูลช่วยเปลี่ยนมุมมองของสิ่งต่าง ๆ บนโลกได้ เรื่องของการแบ่งกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วน่าจะมีเศรษฐกิจที่พึ่งพาการผลิตที่ทันสมัยกว่า มีรายได้และคุณภาพชีวิตดีกว่า และกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา โดยใช้เกณฑ์เศรษฐกิจและคุณภาพชีวิชิต แต่เมื่อค้นหาข้อมูลด้านเศรษฐกิจแทนด้วยข้อมูลรายได้และเกณฑ์คุณภาพชีวิตแทนด้วยข้อมูลอายุขัยเฉลี่ย จากข้อมูลที่ได้กลับไม่มีการกระจายที่แยกกลุ่มประเทศที่พัฒนาออกจากประเทศกลุ่มอื่น ๆ ได้อย่างชัดเจน
1.1 ข้อมูลช่วยอธิบายปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น เรื่องของฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมโครเมตร์ มีค่าเกินมาตรฐาน คือ มากกว่า 2.5 ไมโครกรัมต่อลุกบาศก์เมตร เหตุการณ์ดังกล่าวจะเกิดขึ้นซ้ำในช่วงเวลาเดียวกันหลาย ๆ วัน บางช่วงเวลาของวันปริมาณฝุ่นก็ลดลงจนอยู่ในระดับต่ำมาก จากการเก็บข้อมูลในแต่ละช่วงเวลาอย่างต่อเนื่องด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of things: IoTs) เข้ามาประยุกต์ใช้ ทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถหาวิธีการแก้ปัญหาฝุ่นควันได้อย่างเป็นระบบต่อไป
1.4 การคิดเชิงออกแบบ (design thinking) สำหรับวิทยาการข้อมูล
หลักการพื้นฐานของการคิดเชิงออกแบบ คือ
3) การทำซ้ำและปรับปรุง การออกแบบที่ดีมักผ่านการปรับปรุงแก้ไขหลายครั้ง ข้อคิดเห็นจากผู้ใช้เป็นสิ่งที่นักออกแบบคาดไม่ถึง การนำข้อมูลดังกล่าวมาปรับปรุงงานออกแบบจึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก และควรกล้าที่จะทดสอบ ลองผิดลองถูก
2) การลองผิดลองถูกและเรียนรู้ผ่านการทดลองกับกลุ่มผู้ใช้จริง เพื่อระดมความคิดจากมุมมองของหลาย ๆ คน สร้างเป็นแบบจำลองการใช้งาน สำหรับสือสารหรือพูดคุยกับผู้ใช้ ทำให้เห็นภาพสิ่งที่คิดนั้นชัดเจน
1) การมองในมุมมองของผู้ใช้ เอาใจเขามาใส่ใจเรา เพื่อสร้างความเข้าใจต่อผู้ใช้อย่างลึกซึ้ง และคิดต่อว่าต่องการทราบข้อมูลนี้ไปทำไม เพื่ออะไร
นาย รชต อุตศาสตร์ ม5/1 เลขที่11