Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Upper Gastrointestinal Bleeding; UGIB (ภาวะเลอดออกจากทางเดิน อาหารสวนต้น)…
Upper Gastrointestinal Bleeding; UGIB
(ภาวะเลอดออกจากทางเดิน อาหารสวนต้น)
เกณฑ์การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ตรวจหาอาการแสดงของ chronic liver disease เช่น spider nevi (ผื่นรูปแมงมุม), angiomata,palmar,erythema (รอยแดงบริเวณผ่ามือ)
ตัวเหลือง (Jaundice), บวมที่ขา (Peripheral edema), อาการสับสนทางสมอง (Hepatic encephalopathy)
การตรวจหน้าท้องตรวจหา surgical scar, point of tenderness และการตรวจหาก่อนในท้อง
เจ็บที่ชายโครงขวา (Right Upper Quadrant Tenderness), เคาะพบเสียงทึบ (Dullness), ท้องมาน (Ascites),
หลอดเลือดขยายในหลอดอาหาร (esophageal varices)
อาการแสดงของภาวะ hypovolemia ได้แก่ ความดันโลหิตต่ำ ชีพจรเร็ว และ orthostatic hypotension
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
prothrombin time (PT), partial thromboplastin(PTT), Intemational normalized ration (INR)
PT 27.5 (ค่าปกติ 10.6-13.0) H
PTT 50.4 (ค่าปกติ 22.1-28.9) H
INR 2.41 (ค่าปกติ 1.0-1.2) H
liver function test
Direct bilirubin 8.47 mg/dl (ค่าปกติ 0.0-0.3) H
Total bilirubin 9.60 mg/dl (ค่าปกติ 0.0-1.2) H
Alkaline phosphatase 476 U/L (ค่าปกติ 35-129) H SGOT (AST) 889 U/L (ค่าปกติ 0-40) H
SGPT (ALT) 88 U/L (ค่าปกติ 0-41) H
blood urea nitrogen (BUN) และ creatinine (Cr) ในเลือด
BUN 36 mg/dl (ค่าปกติ 6.0-20.0 ) H
stool occult blood
hematocrit (HCT), hemogolobin (Hb)
Hb 10.4 g/dl (ค่าปกติ 12.0-16.9) L
Hct 32.2% (ค่าปกติ 57.0-51.9 ) L
การตรวจพิเศษ
การส่องกล้องทางเดินอาหารส่วนบน
(esophagogastroduodenoscopy)
การทำ CT Abdomen
การซักประวัติ
ประวัติการใช้ยาแก้ปวด nonsteroid anti-inflammatory drug (NSAIDs) รวมทั้ง aspirin
ได้รับยา aspirin ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555
ประวัติการใช้สารเสพติด
ปฏิเสธการใช้สารเสพติดทุกชนิด
โรคหรืออาการต่างๆ
ผู้ป่วยให้ประวัติว่าเคยมีอาการของโรค Stroke เมื่อปี 2555
พยาธิสภาพและกลไก
สรุป UGIB แบบเข้าใจง่าย
1️⃣ สาเหตุหลัก → แผลในกระเพาะ, เส้นเลือดโป่งพอง, กระเพาะอักเสบ
2️⃣ เลือดออก → จากเยื่อบุที่ถูกทำลายหรือเส้นเลือดแตก
3️⃣ อาการ → อาเจียนเป็นเลือด, ถ่ายดำหรืออาจถ่ายเป็นเลือดสดได้, หน้ามืด หากเสียเลือดมาก
โครงสร้างและอาการที่แตกต่างกัน UGIB กับ LGIB
โครงสร้าง UGIB
UGIB เกิดจากการเลือดออกใน ทางเดินอาหารส่วนต้น (หลอดอาหาร, กระเพาะอาหาร, ลำไส้เล็กส่วนต้น)
อาการ UGIB
อุจจาระเป็นเลือดสด (Hematuchezia)
ผู้ป่วยมีอุจจาระเป็นเลือดสด
ถ่ายดำ (Melena)
อาเจียนเป็นเลือด (Hematemesis)
รู้สึกไม่สบายท้อง (Dyspepsia)
มีอาการเบื่ออาหาร, ท้องอืด,
อาการ LGIB
ถ่ายเป็นเลือด อาจเป็นสีแดงสด (Hematuchezia)
สีเลือดนก (Maroon stool)
สีดำหรือเป็นลิ่มเลือด
โครงสร้าง LGIB
LGIB เกิดจากการเลือดออกใน ทางเดินอาหารส่วนล่าง (ลำไส้ใหญ่, ลำไส้เล็กส่วนล่าง, ทวารหนัก)
ข้อมูลผู้ป่วย
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน : 1 ชม. ก่อนมา รพ. เวียนศีรษะ บ้านหมุน มาตรวจที่ รพ. ได้รับยาความดัน
มารับประทาน หลังจากนั้นกลับบ้าน มีการถ่ายเป็นเลือดสด ไม่ได้รับการรักษาที่ไหน
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต : DM, HT, DLP
การแพ้ยาและสารอาหาร : ปฏิเสธการแพ้ยาและสารอาหาร
ประวัติการใช้สารเสพติด : ปฏิเสธการใช้ยาเสพติดและสารเสพติดทุกชนิด
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
อาการสำคัญ : ปวดท้องชายโครงขวา อ่อนเพลีย 1 ชม. ก่อนมา รพ.
วินิจฉัยโรคปัจจุบัน : Upper Gastrointestinal Bleeding; UGIB
:
ความหมายของโรค
ภาวะที่มีการเลือดออกจากอวัยวะในส่วนต้นของระบบทางเดินอาหาร เช่น หลอดอาหาร, กระเพาะอาหาร, หรือ ลำไส้เล็กส่วนต้น
สาเหตุที่พบบ่อย ได้แก่ แผลในกระเพาะอาหาร (Peptic ulcer),
หลอดอาหารขยาย (Esophageal varices), หรือ กระเพาะอาหารอักเสบ (Gastritis) การเลือดออกจากทางเดินอาหารส่วนต้นสามารถเป็นภาวะที่รุนแรงและต้องได้รับการรักษาทันที
สาเหตุ
โรคที่อวัยวะข้างเคียง เช่น โรดทางเดิน้ำดีทำให้เกิด
เลือดออกในทางเดินน้ำดี (hemobilia)
โรคทางร่างกายทั่วไป เช่น การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้น
โรคทางเดินอาหารส่วนบน เช่น โรคกระเพาะและโรคลำไส้อักเสบจากแผลเปบติก (peptic ulcer)
สาเหตุหลักของpeptic ulcer คือ Helicobacter pylori infection และการรับประทานยาแก้ปวดในกลุ่ม nonsteroid anti inflammatory drug (NSAIDs) รวมทั้ง aspirin แผลที่เกิดจากความเครียด
แผลจากการดื่มสุรา หลอดเลอดโป่งพองที่หลอดอาหาร
ผู้ป่วยได้รับยา Aspirin (ASA) ทำให้เลือดออกในทางเดินอาหารได้ เพราะมันยับยั้ง COX-1 ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ช่วยสร้าง Prostaglandins ที่ช่วยปกป้องกระเพาะอาหารจากกรดในกระเพาะ เมื่อไม่มี Prostaglandins เยื่อบุในกระเพาะอาหารจะถูกกรดทำลายได้ง่ายขึ้น จึงทำให้เกิดแผลและเลือดออกได้ง่าย
อาการและอาการแสดง
อาจมีอาเจียนเป็นเลือดสดหรือเลือดเก่า และถ่ายอุจจาระดำหรือเลือดสด และมีอาการปวดศีรษะ กระหายน้ำ เหงื่อออก ใจสั่น กระวนกระวาย ความดัน โลหิตต่ำ ชีพจรเบาเร็ว
ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้ ปวดท้องในระยะแรก มีความรู้สึกอยากถ่ายอุจจาระ
อาการอื่นๆ เช่น มีไข้ อาจเกิดภายใน 24 ชั่วโมง ในผู้สูงอายุอาจเกิด myocardial infarction
ปัจจัยเสี่ยง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง เนื่องจากของเสียคั่งในร่างกาย
กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล
กิจกรรม: ใช้ Glasgow Coma Scale (GCS) หรือ RASS (Richmond Agitation-Sedation Scale) เพื่อตรวจสอบระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
เหตุผล: การติดตามระดับความรู้สึกตัวช่วยให้พยาบาลสามารถตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของสถานะผู้ป่วยได้ทันทีและให้การดูแลที่เหมาะสม
ข้อมูลสนับสนุน
หรือเป็นสีแดง หรือสีแดงสดก็ได้