Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cardiovascular Pathophysiology - Coggle Diagram
Cardiovascular Pathophysiology
Heart Disease
Ischemic Heart Disease
ภาวะหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (Acute Coronary Syndromes; ACS) กลุ่มอาการที่เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจตายหรือขาดเลือดอย่างรุนแรงแบบเฉียบพลัน
กลุ่มอาการแสดง
1. Unstable Angina
เจ็บแน่นหน้าอก เป็นๆ หาย ๆ จากที่ผู้ป่วยมีภาวะ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดอย่างเฉียบพลัน แต่ยังไม่มีการตายของกล้ามเนื้อหัวใจ
2. Non-ST segment elevation myocardial infarction (NSTEMI)
กล้ามเนื้อหัวใจตายพื้นที่เล็กน้อย (micro-infarction) โดยไม่มีการอุดตัน ของหลอดเลือดหัวใจ พบ ST depress or T wave inversion, Cardiac enzymes ผลบวก
3. ST segment elevation myocardial infarction (STEMI)
กลุ่มอาการที่เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจตายเป็นปริมาณมากเนื่องจากหลอดเลือดหัวใจอุดตันสนิทโดยลิ่มเลือด คลื่นไฟฟ้าหัวใจมีลักษณะ persistent ST-segment elevation
การรักษา
การให้ออกซิเจน
การให้พัก โดย Bed rest การให้ยา Morphine เพื่อลดอาการเจ็หน้าอก
การเพิ่มความสามารถในการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ โดยการให้ยา เพิ่มการไหลเวียนเลือดโดยใช้ยากลุ่มสลายลิ่มเลือด
การควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจ เช่น cardiac pacemaker
ลดการทำงานของหัวใจ ลดการตื่นเต้น
Cardiac arrhythmia
Bradycardia
ภาวะหัวใจเต้นช้ากว่าปกติ < 60/min
Fibrilation
พบกล้ามเนื้อหัวใจจะหดและคลายสั้น ๆ และเบา
เสี่ยงเกิด stroke
AF จะพบว่า QRS complex รูปร่างปกติแต่ช่วงห่างไม่สม่ำเสมอไม่เห็น P wave และ R-R interval ไม่สม่ำเสมอ
ภาวะ VF พบว่าแต่ละคลื่นมีรูปร่างไม่ แน่นอนและไม่สัมพันธ์กันรวมทั้ง baseline ไม่แน่นอน มักทำให้ผู้ป่วยหมดสติและเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว
Wolff-Parkinson-White syndrome
การส่งคลื่นไฟฟ้าผ่านไปที่ ventricle โดยไม่ผ่าน AV node โดย ผ่านไปทาง accessorypathway ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อที่เชื่อมระหว่าง atrium กับ ventricle ทำให้ PR interval สั้นลง ventricle เต้นเร็ว มากจนไม่มีเวลาพัก
อาการเกิดเมื่อหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ ดังนั้นอาจจะเกิดขึ้นทันทีเป็นวินาทีหรือเป็นชั่วโมง เกิดขึ้นบ่อยเมื่อการออกกำลังกาย
อาการเล็กน้อยไม่จำเป็นต้องรักษา บางคนชะลอจังหวะการเต้นของหัวใจโดยการทำvagal maneuvers
หากมีอาการเป็นลม มึนหัว แน่นหน้าอก การเต้นหัวใจที่เร็วมาก อาจถึงชีวิตได้
การใช้ยา
จะใช้ยา antiarrhythmic และแนะนำการรักษาด้วยradiofrequency catheter ablation การสอดสายเข้าไปในหลอดเลือดบริเวณขาเข้าสู่หัวใจ การรักษาอื่น ๆ เช่น cardioversion และ surgery ส่วนcardioversion ใช้เมื่อการรักษาอื่นไม่สำเร็จ
Heart block
เกิดจากมีการขัดขวางการแผ่คลื่นไฟฟ้าหัวใจ พบ
มากกรณี AV block
First degree block
: ตรวจพบ PR interval มี ระยะเวลายาวขึ้น (ปกติ 0.12 -0.21 วินาที) และมี QRS ตามหลัง P ทุกครั้ง ไม่มีอาการไม่จำเป็นต้องรักษาใดๆ
Second degree block
:เป็น incomplete heart block การนำไฟฟ้าบางครั้งไม่สามารถไปถึงหัวใจห้องล่าง แต่บางครั้งก็ไปถึง แนะนําให้ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจถาวร ในกรณีที่ทําให้เกดอาการหรือในกรณีที่ตรวจพบว่าเป็น infranodal block
Third degree block / complete heart block
: การนำคลื่นไฟฟ้าผ่าน AV block ไม่ได้เลย จึงพบ P และ QRS เกิดขึ้นแบบไม่สัมพันธ์กัน และ หัวใจห้องล่างเต้นช้ามาก มักแนะนําให้ใส่เครองกระตุ้นหัวใจถาวร โดยเฉพาะเมื่อมีอาการหรืออัตราการเต้นของหัวใจช้ามากๆ
Tachycardia
เป็นภาวะหัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ
100 ครั้ง / min
สาเหต ุ : stress, ingestedor injected substances (ie: caffeine, alcohol, hyperthyroidism, orvariousdrugs
Heart Failure
ภาวะที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายได้อย่างเพียงพอ
2 ชนิด
หัวใจซีกซ้ายล้มเหลว
Backward effect
ไอ
หายใจลำบาก
เขียว(cyanosis)
หายใจหอบเมื่อนอนราบ และช่วงกลางคืน
ภาวะปอดบวมน้ำ
Forward effect
CO ลดลง
GFR ลดลง
Oliguria
fatigue
narrow PP
HR เพิ่มขึ้น
หัวใจซีกขวาล้มเหลว
Backward effect
ตับ ม้ามโต
Jugular Venous Distention
ท้องมาน (ascites)
บวมตามแขนขา
สาเหตุ
การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง
coronary disease
cardiomyopathy
การติดเชื้อ - pericardial temponade ของเหลวในเยื่อหุ้มหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจทำงานมากเกินไป
2.1 after load ; HT, COPD, aortic/pulmonary stenosis.
2.2 preload ; mitral/tricuspid/aortic - insuffiency และ หัวใจเต้นผิดจังหวะ (arrhythmia)
2.3 ร่างกายต้องการใช้พลังงานมากขึ้น ; ซีด Thyrotoxicosis,pregnancy, ขาดอาหาร
2.4 การคั่งของน้ำในระบบไหลเวียน
ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือด (transfusion) มากเกินไป
ภาวะไตวาย
Congenital Heart Defect
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด(congenitalheart disease) เป็นโรคที่เกิดความผิดปกติของการสร้างหัวใจตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์มารดาภายใน 4-8สัปดาห์หลังปฏิสนธิ
Cyanosis type (กลุ่มที่เด็กตัวเขียว)
ได้รับเลือดแดงปนเลือดดำและมีความอิ่มตัวของ
ออกซิเจนในหลอดเลือดแดงน้อยกว่าร้อยละ 95 มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ
❑ Tetralogy of fallot (TOF) เป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียวที่พบบ่อยที่สุด
❑ Transposition of the great asteries (TGA) การหลับที่ของหลอดเลือดแดง ใหญ่
Non-cyanosis type (กลุ่มไม่เขียว)
พบได้บ่อยคือ ผนังกั้นห้องหัวใจปิดไม่สนิท มีรูรั่ว และที่พบน้อยกว่าคือความพิการของลิ้นหัวใจ ซึ่งทำให้เลือดแดงไหลไปปนเลือดดำ (Shunt)
❑ ผนังกั้นหัวใจห้องบนรู (Atrial Septal Defect : ASD)
❑ ผนังกั้นหัวใจห้องล่างรั่ว (Ventricular Septal Defect : VSD)
❑ เส้นเลือดแดงระหว่างปอดและหัวใจไม่ตีบ (Patent Ductus Arteriosus : PDA)
Alteration of Circulation
Hypertension Hypotension
Hypertension ความดันโลหิตสูง มากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 mmHg
สาเหตุ
ชนิดไม่ทราบสาเหตุ 90-95% แพทย์จะตรวจไม่พบโรค หรือภาวะผิปกติ
(Essential hypertension)
ชนิดทราบสาเหตุ 5-10%
1) สูงทั้ง Systolic และ Diastolic : โรคไต ต่อมไร้ท่อ โรคหลอดเลือด เอออร์ตาตีบ ยา ครรภ์เป็นพิษ
2) ความดันเลือดสูงเฉพาะ : Systolic ได้แก่ thyrotoxicosis anemia
อาการและอาการแสดง
ผลต่อผนังหลอดเลือดแดงหนา,แข็ง เร่งการเกาะของไขมัน, ขาด ความยืดหยุ่น, หัวใจโต, กล้ามเนื้อหัวใจตาย, left side heart failure, aneurysm
ผลต่อสมอง (อุดตัน - แตก) หลอดเลือดทั่วไปโป่งพองหรือ
สมองขาดเลือดชั่วคราวหรือถาวร พบอาการชัก หมดความรู้สึก
ผลต่อเนื้อไตตายบางส่วน เกิด renal failure
ผลต่อตา papilloedema : optic disk หลอดเลือดแดงที่จอภาพตีบ การมอง เห็นเสียไป
การรักษา
วัตถุประสงค์เพื่อควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
การรักษาโดยไม่ใช้ยา คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดำรงชีวิต
การรักษาโดยการใช้ยา การรักษาความดันโลหิตสูงโดยการใช้ยาจะช่วยลดโรคแทรกซ้อนที่เกิดจากความดันโลหิตสูงได้ โดยคนไข้แต่ละคนจะตอบสนองต่อยาชนิดต่างๆ ไม่เหมือนกัน
Hypotension ภาวะความดันโลหิตต่ำ ต่ำกว่าหรือเท่ากับ 90/60
Shock
ภาวะที่มีความล้มเหลวของระบบไหลเวียนเลือด ทำให้เนื้อเยื่อต่าง ๆ ได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอ
ชนิดของช็อก
Hypovolemic shock
สาเหตุเกิดจากการลดลงของ preload ซึ่งเกิดจากการสูญเสียเลือด หรือสูญเสียสารน้ำในร่างกาย ไป
Cardiogenic shock
เกิดขึ้นเนื่องจากมีพยาธิสภาพของกล้ามเนื้อหัวใจจนไม่สามารถบีบ เลือดออกไปเลี้ยงร่างกายได้พอเพียง เนื่องจากมี cardiac output ลดลง และความดันเลือดจะลดลงตามมา
การวินิจฉัย
ความดันโลหิตต่ำ
ชีพจรเร็ว หรือช้าผิดปกติ
หายใจเร็ว ฟังได้เสียงกรอบแกรบ (Crepitation) ในปอดทั้ง 2 ข้าง
O 2 saturation ต่ำ
เส้นเลือดดำ ที่คอโป่ง (Engorged neck vein)
ขาบวม กดบุ๋มทั้ง 2 ข้าง (Pitting edema)
การอ้างอิง
Jia1669. (20 พฤษจิกายน 2564). Wolff-Parkinson-White (WPW) syndrome. เรียกใช้เมื่อ 8 ตุลาคม 2565 จาก Jia1669:
https://www.jia1669.com/content/50377/wolff-parkinson-white-wpw-syndrome
ณัฏฐณิชา ศรีบุณยวัฒน. (ธันวาคม 2562). การพยาบาลเด็กป่วยโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด. พยาบาลสาร ปีที่ 46 ฉบับพิเศษ(ฉบับพิเศษ), 1-11. เรียกใช้เมื่อ 9 ตุลาคม 2565 จาก
https://he02.tci-thaijo.org
› article › download
วรพันธ์ พุทธศักดา. (17 พฤษจิกายน 2563). สัญญาณไฟฟ้าหัวใจถูกขัดขวาง. เรียกใช้เมื่อ 8 ตุลาคม 2565 จาก hd สุขภาพดีเริ่มได้ที่นี้:
https://hd.co.th/heart-block
Septic shock
เกิดจากการติดเชื้อ ที่พบได้มากที่สุดคือแบคทีเรียแกรมลบ
Neurogenic shock
อาการและอาการแสดง ในระยะแรกจะพบว่า หัวใจเต้นช้ามาก ซึ่งผลจากการทำหน้าที่ของระบบประสาทพาราซิมพาเทติคเพิ่มขึ้น แต่จะสูงขึ้นเมื่อร่างกายสามารถ ปรับตัวชดเชยได้
5.Anaphylactic shock
อาการภูมิแพ้ที่มีปฏิกิริยารุนแรงอย่างเฉียบพลัน เมื่อร่างกายได้รับสารกระตุ้นบางอย่าง
การวินิจฉัย
มีประวัติ กินหรือสัมผัส สิ่งที่ทำ ให้เกิดอาการแพ้ เช่น อาหาร ยา แมลงกัดต่อย
ความดันโลหิตต่ำ
ชีพจรเร็ว
อาจมีใบหน้าบวม หรือผื่นลมพิษ แดง คันตามตัว (Urticaria) โดยพบวjามักเกิดขึ้นเร็วภายใน 2 ชั่วโมงหลังรับประทานยาหรืออาหาร
อาจมีอาการของระบบทางเดินอาหาร เช่น ท้องเสีย อาเจียน
ภาวะบวม (Edema)
เป็นการสะสมของของเหลวในเนื้อเยื่อของร่างกาย
สาเหตุ
การเพิ่มแรงดันของของเหลวในหลอดเลือดฝอยจากการอุดกั้นในระบบไหลเวียน
การซึมผ่านของของเหลวผ่านผนังหลอดเหลือดฝอยเพิ่มขึ้น
(Permeability)
ระดับโปรตีนในพลาสมาลดลง
การอุดตันของท่อน้้าเหลือง
การเพิ่มปริมาตรน้้านอกเซลล์ เนื่องจากการคั่งของน้้าและโซเดียม
หรือภาวะที่มีการดูดกลับมากเกินไป
ชนิดการบวม
อาการบวมกดไม่บุ๋ม (Non-Pitting Edema)
อาการบวมกดบุ๋ม (Pitting Edema)
โรคของหลอดเลือดแดง
(Disease of artery)
ภาวะหลอดเลือดแข็ง (Atherosclerosis)
มีการแข็งตัวของหลอดเลือดเพิ่มขึ้น การยืดหยุ่นลดลงจากการสะสม Smooth muscle และไขมัน
ผลที่เกิดขึ้น ischemia
, thrombosis,aneurysm, rupture