Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่1 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีผลต่อการบริหารงานส่งเสริม…
หน่วยที่1
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีผลต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ความหมาย องค์ประกอบและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
1.ความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
2.องค์ประกอบของการเปลงทางสังคม
Identityof change
Level of change
Duration of change
Direction of change
Magnitude of change
Rate of change
3.ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
Process
Progress
Evoluation
Development
4.ปฏิกิริยาตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สิ่งเร้าทางสังคม
สิ่งเร้าทางจิตวิทยา
สิ่งเร้าทางวัฒนธรรม
สิ่งเร้าทางเศรษฐกิจ
ทิศทางการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
1.การเปลี่ยนแปลงจากสังคมเกษตรกรรมไปสู่สังคมอุตสาหกรรม
2.การเปลี่ยนแปลงทางสังคมแบบเส้นตรง
เลวิส มัมฟอร์ด 4 ยุค
ยุคเทคนิคสมัยเริ่มแรก
ยุคเทคนิคเก่า
ยุคเทคนิคใหม่
ยุคเทคนิคชีวภาพ
วอลท์ รอสโตวส์ 5 ขั้นตอน
ระยะสังคมดั้งเดิม
ระยะเตรียมการก่อนพัฒนา
ระยะเริ่มพัฒนา
ระยะเข้าสู่การพัฒนา
ระยะการบริโภค
3.การเปลี่ยนแปลงทางสังคมแบบวัฏจักร
วัฒนธรรมทุกรูปแบบมีกฏของการเปลี่ยนแปลงในสังคมแต่ละกลุ่ม
กฏการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมแต่ละรูปมีลักษณะเป็นวัฏจักรตามธรรมชาติ
การเปลี่ยนแปลงเป็นไปตามวงจรชีวิตหรือช่วงเวลาของหน้าที่
เมื่อวัฏจักรของวัฒนธรรมที่1และที่2 รวมเข้าดวยกันและเกิดภาวะสมบูรณ์ของกลุ่มหรือของชาติรูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางสังคมประกอบด้วย 2มิติ คือ ลำดับเหตุการณ์อันจะบ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรืองหรืออารยธรรม จากจุดเริ่มต้นถึงจุดสูงสุด
ปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
และที่มาของปรากฏการณ์
1. การวิวัฒนาการและการปฏิวัติ
2.การปฏิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม
3.การพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม
4.การพัฒนาเป็นเมือง
5.การพัฒนาให้เป็นสมัยใหม่
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ปัจจัยด้านประชากร
ความสำคัญของประชากร
อิทธิพลของประชากรที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
1.ลักษณะบุคลิกภาพของบุคคล
2.ขนาดของประชากร
3.โครงสร้างของประชากร
4.การขยายตัวของประชากร
5.การย้ายถิ่น
6.การขัดเกลาทางสังคม
7.การเกิด
8.การตาย
ปัจจัยด้านวัฒนธรรม
1.การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
2.อิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ระบบความคิด
การประดิษฐ์คิดค้น
การปฏิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม
เทคโนโลยี
ปัจจัยด้านการเมือง
1.แนวคิดการเมืองการปกครอง
2.บทบาทของการเมือง
3.อิทธิพลของการเมืองที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงทางการบริหารและการปกครอง
การเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
1.แนวคิดด้านเศรษฐกิจกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
เศรษฐกิจส่วนบุคคล
เศรษฐกิจของชนชั้น
เศรษฐกิจของสังคมส่วนรวม
2.อิทธิพลของเศรษฐกิจที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ปัจเจกบุคคลและครอบครัว
กลุ่มของสังคม
องค์การ
ระบบการผลิต
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การกำหนดนโยบาย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทย สังคมโลกที่มีผล
กระทบต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทยที่มีผลกระทบต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรมนุษย์
1.การเปลี่ยนแปลงด้านจำนวนและประเภทของประชากร
2.การเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพของประชากร
การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติ
1.การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติจากการนำมาใช้ประโยชน์
2.การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมด้วยเทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลงด้านการจัดการบริหารปกครอง
1.วิวัฒนาการของการบริหารปกครองแบบประชาธิปไตย
2.ลัษณะสำคัญของการจัดการบริหารปกครองในปัจจุบันและอนาคต
ให้สิทธิเสรีภาพอย่างกว้างขวางแก่ประชาชน
เพิ่มอำนาจการปกรองด้วยการมีส่วนร่วมของประชาชน
ลดอำนาจของรัฐจากส่วนกลางเพิ่มอำนาจส่วนท้องถิ่น
เรียกร้องความโปร่งใส
ควบคุมและถ่วงดุลอำนาจของรัฐด้วยองค์กรอิสระ
ติดตามและตรวจสอบการใช้อำนาจ
การเปลี่ยนแปลงด้านระบบความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม
1.การเปลี่ยนแปลงระบบความสัมพันธ์ทางสังคม
ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมชนบทกับเมือง
ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชาติพันธ์ใหญ่กับกลุ่มชาติพันธ์เล็ก
2.การเปลี่ยนแปลงระบบความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม
วัฒนธรรมประเพณีกับวัฒนธรรมสมัยใหม่
วัฒนธรรมไทยกับสากล
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมโลกที่มีผลกระทบต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กรอบแนวคิด
1.ความเป็นมาของสังคมโลกและปัจจัยของสภาพความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกหลัง ค.ศ.2000
สังคมยุคโบราณ
สังคมยุคใหม่
2.ปัจจัยของความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกหลัง ค.ศ.2000
3.แนวทางการศึกษาสภาพสังคมโลกหลัง ค.ศ.2000
อุดมคติ
สัจนิยม
ทฤษฏีระบบ
เศรษฐศาสตร์การเมือง
4.สภาพความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกกับการเกษตรกรรม
กำหนดมาตรฐาน
ความชำนาญเฉพาะด้าน
การสร้างความประสานสอดคล้อง
การรวมจุดเน้น
การสร้างคุณค่าและประโยชน์สูงสุด
องค์การและกลุ่มความร่วมมือในระดับโลก
1.องค์การและกลุ่มความร่วมมือระดับโลก
องค์สหประชาชาติ
ธนาคารโลก
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
องค์การการค้าโลก
2.องค์การและกลุ่มความร่วมมือในระดับภูมิภาค
สหภาพยุโรป
เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ
APEC
AFTA
3.องค์การและกลุ่มความร่วมมือในระดับภายในรัฐ
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกหลัง ค.ศ.2000
ด้านการเมืองและความมั่นคง
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
ความหมายและความสำคัญของการพัฒนาเศรฐกิจ
ความหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจ
ดั้งเดิม 1950 - 1960
ความสามารถของประเทศในการสร้างหรือรักษาอัตราการเติบโตของ เศรษฐกิจมุ่งเน้นการขยายตัวของ GDP
สมัยใหม่ หลัง 1960 - ปัจจุบัน
ไม่ได้ใช้เกณฑ์การวัดโดยการดูที่ GDP อย่างเดียว แต่ดูปัจจัยอื่นด้วย
ความสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ
ช่วยปรับปรุงและยกระดับมาตรฐานการครองชีพ
เป็นหนทางในการทำให้ประเทศพัฒนาได้
ก่อให้เกิดความช่วยเหลือซึ่งกันและกันของประเทศต่างๆ
การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่พัฒนา
ประเทศพัฒนา
ประเทศที่มีการพัฒนาในระดับที่สูงเมื่อวัดตามาตรฐานบางประการ เช่น รายได้ต่อหัว , GDP ต่อหัวสูง
ประเทศกำลังพัฒนา
ประเทศที่มีมาตรฐานการดำรงชีวิตปาน
กลาง- ต่ำ พื้นฐานอุตสาหกรรมยังไม่พัฒนา
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
ปัจจัยทางการเมือง
ปัจจัยการเมืองระดับท้องถิ่น
ปัจจัยการเมืองระดับประเทศ
ปัจจัยทางสังคม
ก่อนยุคฟองสบู่แตก
หลังยุคฟองสบู่แตก พ.ศ.2540
ยุคปัจจุบัน
ปัจจัยทางธุรกิจและการค้า
ความได้เปรียบอันมีผลมาจากเทคโนโลยีใหม่
ความได้เปรียบอันมีผลมาจากตลาด
ความได้เปรียบอันเป็นผลมาจากกระบวนการ
ปัจจัยทางเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยทางเทคโนโลยี
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย และเศรษฐกิจโลก
ที่มีผลต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทยที่มีผลกระทบต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทย
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยที่มีผลต่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรก่อนมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั่งคมแห่งชาติ
สมัยสุโขทัย
สมัยอยุธยา
สมัยธนบุรี
สมัยรัตนโกสินทร์ - ก่อนมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยภายหลังมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
การพัฒนาการเกษตรในแผนฯ 1-7
การพัฒนาการเกษตรในแผนฯ 8-12
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจกับผลกระทบต่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ผลกระทบต่อโครงสร้างการเกษตร
ผลกระทบต่อรูปแบบการผลิตทางการเกษตร
ผลกระทบต่อรูปแบบการส่งเสริมการเกษตร
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยและการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย
การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในอนาคต
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของโลกและผลกระทบต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.การแข่งขันที่รุนแรงจากเศรษฐกิจเกิดใหม่
2.การแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจเกิดใหม่
3.การสร้างสมดุลระหว่างมหาอำนาจเก่าและมหาอำนาจใหม่
4.การบริหารความเสี่ยงจากความซับซ้อนของเศรษฐกิจโลก
5.การกีกกันทางการค้าและการให้ความช่วยเหลือโดยรัฐ
6.การรักษาความมั่นคงและยั่งยืนของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ