Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู, นางอรชร มหาวัน เลขที่ 17 …
คุณธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชีพครู
คุณธรรม : คุณสมบัติที่เป็นความดี
ความถูกต้อง ซึ่งมีอยู่ภายในจิตใจของบุคคล
คุณธรรมสำหรับครู : คุณธรรมที่เป็นความดี ความถูกต้องเหมาะสม ซึ่งอยู่ในจิตใจของครูและเป็นแรงผลักดันให้ครูกระทำหน้าที่ของครูอย่างถูกต้องเหมาะสม
ด้านตัวครู
ทำให้ครูมีความเจริญก้าวหน้า/มั่นคงในอาชีพ
ได้รับการยกย่องสรรเสริญจากบุคคลทั่วไป/ เป้นที่เคารพเชื่อฟังของศิษย์
มีชีวิตอยู่ในสังตมอย่างมีความสุข เพราะแวดล้อมด้วยความรัก ความนับถือ
ครอบครัวมีความมั่นคง สงบสุข ฐานะทางเศรษฐกิจไม่ฝืดเคือง
ด้านสถาบันวิชาชีพ
ทำให้ชื่อเสียงของคณะครูเป็นที่ศรัทธาเลื่อมใสของปวงชน
งานวิชชีพครูมีความเจริญก้าวหน้า เพราะครูทำงานเต็มกำลังความสามรถ มีความคิกสร้างสรรค์
สถาบันการศึกษาได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่ เพราะได้รับความร่วมมือ ช่วยเหลือจากประชาชนด้วยความจริงใจ
ด้านสังคมหรือชุมชน
พลเมืองของสังคมเป็นคนดีมีคุณธรรมสูง รู้จักสิทธิและหน้าที่
สังคมมีสันติภาพเพราะประชาชนมีสันติสุข
สังคมได้รับการพัฒนาให้เจริญอย่างรวดเร็วในทุกได้าน
ด้านความมั่นคงของชาติ
สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ มีความมั่นคง
ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติมีความมั่นคง
เพราะครูได้อบรมสั่งสอนศิษย์ให้มีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
การพัฒนาคุณธรรมของครู
ทางสติปัญญา
ฝึกฝน
ศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ
ศึกษาวิธีการ/แนวทาง
ทางศีลธรรม
แนวทางการส่งเสริม
การเลียนแบบจากตัวแบบที่ดี
การรวมพลังกลุ่ม เป็นการระดมความคิดในเชิงสร้างสรรค์
การเพิ่มสมรรถภาพทางจิต
หลักธรรมสำหรับครู
อริยมรรค 8
สัมมาทิฐิ คือการเห็นชอบ(เห็นว่าทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว)
สัมมาสังกัปปะ คือการดำริชอบ(นึกคิดในทางที่ถูกต้อง)
สัมมาวาจา คือ การเจรจาชอบ(ไม่พูดเท็จ ส่อเสียด คำหยาบ เพ้อเจ้อ)
สัมมากัมมันตะ คือ การประพฤติชอบ(เว้นจากการประพฤติชั่ว)
สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีพชอบ(ทำอาชีพสุจริต)
สัมมาวายามะ คือ การเพียรชอบ(มีความพยายาม)
สัมมาสติ คือ การระลึกชอบ(มีสติ)
สัมมาสมาธิ คือ ความตั้งใจมั่นชอบ(มีจิตตั้งมั่น)
พรหมวิหาร 4
เมตตา คือ ความรักใคร่ ปราถนาดี อยากให้ผู้อื่นมีความสุข
กรุณา คือ ความเอ็นดูสงสารศิษย์ พึงช่วยเหลือให้พ้นจากความทุกข์/ความไม่รู้
มุทิตา คือ ความชื่นชมยินดี เมื่อศิษย์ได้ดี และยกย่องเชิดชูให้ปรากฏ เป็นการให้กำลังใจ และช่วยให้เกิดความภูมิใจในตนเอง
อุเบกขา คือ การวางตัววางใจเป็นกลาง
ฆารวาสธรรม 4
สัจจะ คือ ความจริง ความซื่อตรง ซื่อสัตย์และจริงใจ
ทมะ คือ การฝ฿กฦน การข่มใจ ฝึกนิสัย รู้จักควบคุมจิตใจ
ขันติ คือ ความอดทนต่อหน้าที่การงานด้วยความขยันหมั่นเพียร
จาคะ คือ การเสียสละ การเป็นผู้ให้
สังคหวัตถุ 4
mทาน หมายถึง การให้
ปิยวาจา หมายถึง การพูดจาด้วยน้ำใสใจจริงมีความหวังดี
อัตถจริยา หมายถึง การประพฤติอันเป็นประโยชน์
สมานัตตตา หมายถึง การทำตนให้เสมอต้นเสมอปลาย
จริยธรรม : การประพฤติปฏิบัติ
การกระทำดี ตามคุณธรรมที่มีอยู่ในจิตใจ
ความรับผิดชอบต่อหน้าที่
ความซื่อสัตย์
ความกตัญญูกตเวที
การรักษาระเบียบวินัย
ความเสียสละ
ความสามัคคี
การประหยัด
ความยุติธรรม
ความอุตสาหะ :
ความมีเหตุผล
ความเมตตา
จรรยาบรรณ
ความหมาย : ประมวลมาตรฐานความประพฤติ ที่ผู้ประกอบวิชาชีพ จะต้องประพฤติปฏิบัติเพื่อรักษา และสร้างเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียงและสถานะของวิชาชีพนั้น
ประโยชน์
ช่วยควบคุมมาตรฐานและประกันคุณภาพ รวมทั้งปริมาณ ที่ถูกต้องของผู้ประกอบการ
ช่วยควบคุมจริยธรรมของผู้ประกอบการให้เป็นผู้ที่มีความซื่อสัตย์ สุจริต และยุติธรรม
ช่วยส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพและปริมาณของผลผลิตที่ผู้ประกอบการจัดทำขึ้นให้อยู่ในเกณท์ท่ดีอยู่เสมอ
ช่วยส่งเสริมจริยธรรมของผู้ประกอบการและผู้ดำเนินการ ให้มีความเมตตา เห็นอกเห็นใจต่อผู้ร่วมงาน และผู้รับผิดชอบ
ลดการเอารัดเอาเปรียบ ความเห็นแก่ตัว ความมักง่าน ใจแคบ ไม่ยอมเสียสละ
ช่วยเน้นให้เห็นในภาพพจน์ที่ดีของผู้มีจริยธรรม
ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์สิทธิ์ ตามกฏหมายให้ถูกต้อง
จรรยาบรรณวิชาชีพครู
ความหมาย : ประมวลความประพฤติ หรือกิริยาอาการ ที่ผู้ประกอบวิชาชีพครูควรประพฤติปฏิบัติ เพื่อรักษาสร้างเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียงและฐานะของความเป็นครู
จรรยาบรรณของวิชาชีพ 9 ข้อ
ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้เอาใจใส่ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า
2.ครูต้องอบรมสั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดีงามให้แก่ศิษย์อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ
ครูต้องประพฤตปฏิบัติตน เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งทางกาย วาจา ใจ
ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และไม่ให้ศิษย์กระทำการใดๆอันเป็นการหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ
ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์
ครูต้องพัฒนาตนทั้งในด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อพัฒนาการทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยู่เสมอ
ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู
ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครู และชุมชนในทางสร้างสรรค์
ครูพึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์ และพัฒนาภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทย
นางอรชร มหาวัน เลขที่ 17
รหัสนักศึกษา 6512267000048