Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินปัญหาชุมชน - Coggle Diagram
การประเมินปัญหาชุมชน
การวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing Diagnosis)
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ในกระบวนการดำเนินงานอนามัยชุมชน
วิธีของแฮนลอน(JohnJ.Hanlon)
วิธีการใช้กระบวนการกลุ่ม (Nominal group process)
เป็นการใช้ประชาชนหรือกลุ่มตัวแทนตัดสินและสมาชิกในกลุ่มจะต้องรู้ปัญหาที่พบในชุมชนเป็นอย่างดี ประกอบด้วย 2 ขั้น
Ranking technique ประชาชนตัดสินเลือกปัญหาตามหลักประชาธิปไตย ปัญหาที่มีคนเลือกอันดับ 1 คือปัญหาที่มาจากประชาชนอย่างแท้จริง
Listing Technique ประชาชนเสนอปัญหาต่างๆที่มีในชุมชน
1.Clark&Othumval
วิธี 5 D4
เป็นวิธีที่ใช้ในการจัดลําดับความสําคัญของปัญหาตามหลักวิทยาการระบาดเกณฑ์การพิจารณา
ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบได้แก่
3.Disability
4.Discomfort
2.Disease
5.Dissatisfaction
Death
วิธีของStandhopeและLancaster
เปิดโจทย์VDO 2
สารพัดปัญหาชุมชนแออัด
-การชนบทมาทำงานที่กทม.
-การเหลื่อมล้ำ
-การทิ้งขยะ
-ไม่มีน้ำปะปาเนื่องจากไม่มีบ้านเลขที่มีโรงงานช่วยให้น้ำประปาและไฟฟ้า
-การขับถ่ายที่ไม่ถูกสุขลักษณะที่ท่อน้ำ
-ความไม่มั่นคงของงาน จากมีการศึกษาระดับต่ำ
-ต้องแก้ไข้ให้เด็กอยู่ในระบบการศึกษานานที่สุด
1. การประเมินภาวะสุขภาพ (Health Assessment)
องค์ประกอบการประเมิน
แจกแจงความถี่ของข้อมูล
แยกประเภทข้อมูล
การจัดหมวดหมู่กลุ่มข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล
แปลผล
6.สรุปปัญหา
บรรณาธิการข้อมูล
การตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูล
7.การนำเสนอข้อมูล
แผนภาพวงกลม (Pie Diagram)
นำเสนอในรูปตาราง(Tabular Presentation)
แผนภูมิแท่ง (Bar Chart)
พีระมิดประชากร
กราฟเส้น (Line Graphic)
แผ่นภาพ (Pietogram)
รูปกึ่งข้อความกึ่งตาราง (Semi –Tabular Presentation)
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินชุมชน
การสำรวจชุมชน
การสัมภาษณ์
แบบสอบถาม/สัมภาษณ์
แบบประเมินคัดกรองสุขภาพของชุมชน
เครื่องมือการประเมิน 7 ชิ้น
ประวัติชุมชน
ได้มาอย่างไร
จากการบอกเล่าจากมุมมองของชุมชนเอง ที่ผสมผสานข้อเท็จจริง จินตนาการ และความทรงจำ ของท้องถิ่น ที่ถูกสืบทอดผ่านเรื่องเล่า ตำนาน สถานที่บันทึก ขนบแบบแผนการปฏิบัติต่างๆของชุมชนสำคัญต่ออัตลักษณ์ ความนึกคิด ทัศนะ ท่าทีของชุมชน
ประโยชน์
ทำให้เราสามารถเลือกวิธีการทำงานกับชุมชนให้สอดคล้องกับประสบการณ์ความคาดหวัง และศักยภาพของชุมชนได้ดีขึ้น
ช่วยลดอคติหรือภาพลักษณ์แบบเหมารวม เช่น เข้าใจสาเหตุที่ชุมชนไม่เข้าร่วมกิจกรรม
การเข้าใจประวัติศาสตร์ชุมชน หรือรู้ว่ามีเหตุการณ์สำคัญๆอะไรเกิดขึ้นในภาพใหญ่ของประเทศจะช่วยให้เราเข้าใจประวัติศาสตร์ท้องถิ่นดีขึ้น
ใช้อย่างไร
แบ่งคำถามเป็นหมวดหมู่
เขียนเป็นบทความ หรือ timeline ด้วยสัญลักษณ์
สอบถามหรือสัมภาษณ์ผู้รู้ในท้องถิ่น ซึ่งเป็น Key informant
โครงสร้างองค์กรชุมชน
ได้มาอย่างไร
รวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์หรือสังเกตปฏิสัมพันธ์ทางสังคมต่างๆ
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ เช่น มีอาชีพอะไรบ้าง มีกลุ่มอาชีพต่างๆหรือไม่ สัมพันธ์กันอย่างไร มีกลุ่มหรือกิจกรรมทางเศรษฐกิจอะไรบ้างเช่น กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มนายทุนเงินกู้ กลุ่มขายตรง ทรัพยากรต่างๆในชุมชนมีอะไรบ้างแล้วการเข้าถึงเป็นอย่างไร ใครเข้าถึงใครเข้าไม่ถึงบ้างใครมีบทบาทสำคัญในการควบคุมผลประโยชน์เหล่านี้
ความสัมพันธ์ทางการเมือง เช่น โครงสร้างการปกครองท้องถิ่น
ความสัมพันธ์ทางสังคม ลักษณะทางชาติพันธุ์ ลักษณะร่วมทางศาสนา (กลุ่มต่างๆเหล่านี้เป็นมาอย่างไร ใครเป็นผู้นำหรือเป็นผู้มีบทบาทสำคัญ มีความสัมพันธ์กับองค์กรนอกกลุ่มอย่างไร)
ใช้อย่างไร
2.โดยเริ่มจากผู้นำที่มีบทบาทสำคัญในชุมชน ทั้งทางการและไม่เป็นทางการ เขียนสัญลักษณ์ตัวแทนบุคคลแทนผู้นำ จากนั้นระบุตัวบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับผู้นำ เขียนสัญลักษณ์ตัวบุคคลแทนผู้ใกล้ชิดทักคน จากนั้นโยงเส้นเชื่อมระหว่างบุคคลแสดงถึงความสัมพันธ์ที่มีอยู่
3.หากบุคคลนั้นเป็นสมาชิกกลุ่ม ให้เขียนสัญลักษณ์แทนสมาชิกกลุ่มที่สำคัญ และเขียมเชื่อมโยงแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก และขีดเส้นใต้ประล้อมสมาชิกในกลุ่มให้เห็นว่าเป็นกลุ่มเดียวกัน
1.เอาข้อมูลกลุ่มเครือข่ายความสัมพันธ์ในชุมชนมาเชื่อมโยงเป็นแผงผังเครือข่ายทางสังคม (Social network mapping) โดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆทำเป็นแผนผัง
4.หากบุคคลมีความสัมพันธ์ข้ามกลุ่ม ให้เขียนเส้นเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มต่างๆ ซึ่งทำให้เราได้เครือข่ายทางสังคมแต่ละคน
ประโยชน์
ช่วยให้จัดความสัมพันธ์ของเรากับชุมชนได้เหมาะสม และทราบความสัมพันธ์เชิงอานาจ การเข้าใจว่าคนกลุ่มไหน หรือ ตระกูลไหนมีบทบาทต่อชุมชนเชิงการเมือง เศรษฐกิจและสังคม และมีความสัมพันธ์ที่เป็นมิตรหรือขัดแย้ง กับคนกลุ่มไหนบ้าง เป็นข้อมูลสาคัญที่จะช่วยให้เราจัดความสัมพันธ์ของเรากับชุมชนได้เหมาะสมยิ่งข้ึน
ปฏิทินชุมชน
ได้มาอย่างไร
สอบถามจากชาวบ้าน เช่นคนเฒ่าคนแก่
การสังเกตด้วยตนเอง และเขียนบันทึกเก็บเอาไว้ว่าเกิด เหตุการณ์ กิจกรรม ประเพณี กิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ เหล่านั้นเมื่อไร
ประโยชน์
เข้าใจแบบแผนกิจกรรม เหตุการณ์ ของชุมชนที่เกิดขึ้น และสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสม
เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมหรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน
ใช้อย่างไร
รวบรวมข้อมูลด้านอาชีพ เช่น อาชีพของคนในชุมชนนั้นที่ทำในชมชนนั้นเอง อาชีพของคนที่อื่นที่มาทำมาหากินในชุมชนนั้น เช่น แรงงานอพยพจากประเทศเพื่อนบ้าน อาชีพที่คนในชุมชนไปหากินที่อื่น เช่น ไปตัดอ้อย ไปรับจ้างลงเรือประมง ฯลฯ
ประวัติชีวิต
ได้มาอย่างไร
ได้จากการสอบถาม สัมภาษณ์ เก็บข้อมูลต่างๆของทุกคนในชุมชน เก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และแก้ไขปัญหาต่างๆได้อย่างเหมาะสม
ประโยชน์
ช่วยให้เราเห็นถึงศักยภาพและทุนมนุษย์ที่มีอยู่ในชุมชน
เติมมิติของความเป็นมนุษย์ให้กับงานชุมชน
ช่วยสะท้อนความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของชุมชนได้เป็นอย่างดี
บอกแง่มุมต่างๆของชีวิต ที่ถ่ายทอดผ่านเรื่องเล่าทำให้เราเข้าใจตัวตนและชีวิตของคนนั้นๆ
ช่วยให้เราเห็นว่าค่านิยมและวัฒนธรรมท้องถิ่นซึ่งเป็นเรื่องนามธรรมนั้น มีรูปธรรมการแสดงออกการแสดงออกเป็นอย่างไร
ใช้อย่างไร
2.เวลาจำกัดไม่สามารถศึกษาทุกชีวิต เลือกคนสำคัญ
4.จดบันทึก หากบันทึกเสียงหรือภาพต้องขออนุญาตก่อน
3.ถามหาเรื่องราวไม่ใช่ข้อเท็จจริง คำถามปลายเปิด
1.สร้างความคุ้นเคยและไว้วางใจ
ระบบสุขภาพชุมชน
ประโยชน์
สามารถเลือกระบบการแพทย์ในชุมชนนั้น ๆ มาประยุกต์ใช้กับงานด้านสาธารณสุขได้
ได้เห็นระบบการแพทย์ที่หลากหลายในชุมชน
เห็นคุณค่าของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นตน
ได้มาอย่างไร
พูดคุย สัมภาษณ์และสังเกตผู้มีประสบการณ์เกี่ยวกับการเจ็บป่วยหรือปัญหาสุขภาพหลาย ๆ ราย เช่น หมอ พื้นบ้าน ผู้ป่วย ญาติ พระ คนเฒ่าคนแก่ ชื่อโรคท้องถิ่น วัฒนธรรมสุขภาพ พฤติกรรม ความเชื่อ พฤติกรรมเกี่ยวกับสุขภาพ แหล่งและการแสวงหาบริการสุขภาพ
ใช้อย่างไร
ทำ Mind Mapping โดยเริ่มจากแกนกลาง คือ ระบบสุขภาพชุมชน จากนั้นแตกกิ่งออกเป็นปัจจัยหลักแล้วแยกย่อยเป็นรูปธรรมที่พบเห็นในชุมชน
บันทึกเหตุการณ์ความเจ็บป่วย (Illness Episode Record: ER) ติดตามสิ่งที่เกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มป่วยจนสิ้นสุดการรักษา ช่วยให้เห็นภาพความหลากหลายของการเยียวยาโรคในชุมชน จะช่วยให้ตระหนักว่าระบบบริการสุขภาพเป็นเพียงส่วนเล็ก ๆ ในโลกสุขภาพของชาวบ้านเท่านั้น ยังมีกิจกรรมเกี่ยวกับสุขภาพและการเยียวยาอีกมากที่เรายังไม่รู้
แผนที่เดินดิน
ได้มาอย่างไร
นำแผนที่ชุมชนที่มีอยู่แล้วมาประกอบ
เขียนอธิบายเพิ่มเติมรายละเอียดทางกายภาพต่างๆ ของพื้นที่ส่วนต่างๆของชุมชน
ลงพื้นที่สำรวจ พูดคุย สัมภาษณ์และสังเกตพื้นที่ต่างๆของชุมชน
ประโยชน์
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่จำนวนมากและใช้เวลาในการทำความเข้าใจน้อย เพราะสามารถเข้าใจได้ง่าย
มองเห็นภาพรวมต่างๆของชุมชนได้อย่างครบถ้วนและชัดเจนได้มากที่สุด
ทำให้สามารถเห็นกลุ่มเป้าหมายที่จะทำงานต่อได้อย่างครอบคลุมและทั่วถึง
ช่วยในการเริ่มต้นความสัมพันธ์และสร้างความคุ้นเคยกับสมาชิกในชุมชนได้เป็นอย่างดี
ใช้อย่างไร
เพื่อสำรวจพื้นที่ทางกายภาพต่างๆของชุมชน
แผนผังเครือญาติ
ใช้อย่างไร
มีการใช้สัญลักษณ์เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน เช่น ตัวบุคคล สายเลือด consanguinity ความสัมพันธ์จากการแต่งงาน affinity เพื่อดูความสัมพันธ์แบบเครือญาติและจะมีความเกี่ยวข้องกันไปตลอดชีวิต
ประโยชน์
ช่วยบอกถึงความเข้าใจโครงสร้างและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ เชื่อมโยงกันแแบบเข้าใจง่าย
ทำให้ความรู้และข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์เครือญาติสามารถถ่ายถอดและเรียนรู้กันได้ผ่านรูปแบบสัญลักษณ์ได้ง่ายๆ
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ต่างๆเกี่ยงกับพฤติกรรมสุขภาพและโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีและความสนิทสนมระหว่างผู้ทำกับชาวบ้านได้อย่างรวดเร็ว
ได้มาอย่างไร
จากการสอบถาม
3. การวางแผนการพยาบาล (Nursing care plan)
โยงใยสาเหตุ web of cause
ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 7
บูรณาการปัจจัยต่างๆในโยงใยสาเหตุของปัญหากับภาพลักษณ์ของชุมชน
ขั้นตอนที่ 3
การพิจารณาเพื่อตัดปัจจัยที่ไม่เกี่ยวข้อง:โดยใช้ข้อมูลชุมชนที่มีอยู่
ขั้นตอนที่ 2
ความสัมพันธ์ของโรคและปัจจัยต่างๆ ใน Web of Causation
ขั้นตอนที่ 4
ยการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ
ขั้นตอนที่ 1
ทบทวนธรรมชาติการเกิดโรค
ขั้นตอนที่ 6
สร้างโยงใยสาเหตุที่แท้จริง (Actual Web of Causation)
ขั้นตอนที่ 5
ศึกษาเปรียบเทียบโอกาสการเป็นสาเหตุของโรค
5. การประเมินผล (Evaluation)
การประเมินโครงการ
การประเมินผลระหว้างดำเนินโครงการ (Formative/ongoing project evaluation
การประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการ (Summative/Post project evaluation
การประเมินก่อนเริ่มโครงการ (pre-implementation evaluation)
CIPP model
Inputevaluation=I การประเมินปัจจัยนำเข้า
เป็นการประเมินการตัดสินใจใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการปัจจัยนำเข้าประกอบด้วยคนเงินวัตถุสิ่งของและบริหารจัดการ
Processevaluation =P การประเมินกระบวนการ
เป็นการค้นหาข้อบกพร่อง ปัญหา อุปสรรคระหว่างการดำเนินงานเพื่อแนวทางแก้ไขและปรับปรุงโครงการทันทีสามารถควบคุมกำกับโครงการได้
Context evaluation=C การประเมินบริบท
ประเมินเพื่อให้ทราบว่าแผนงานหรือโครงการมีความเหมาะสมหรือสอดคล้องกับความต้องการและมีความเป็นไปได้หรือไม่
Product evaluation = P การประเมินผลผลิตของโครงการ
เป็นการประเมินการดำเนินโครงการเป็นไปตามเป้าหมายของโครงการหรือไม่
การประเมินประสิทธิภาพ
เป็นการเปรียบเทียบระหว่างผลลัพธ์กับปัจจัยนำ เล่น เงิน เวลา เทคโนโลยี
การประเมินประสิทธิผล
เป็นสัดส่วนของผลลัพธ์ที่เกิดจากโครงการ ต้องประเมินตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
4. การปฏิบัติการพยาบาล (Implementing)
1.การเตรียมการ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง เตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงาน
3.การบันทึก เพื่อเป็นหลักฐานและประเมินความก้าวหน้าของงาน ข้อมูลที่สำคัญได้แก่ บันทึกวันเวลา กิจกรรมต่างๆ เป็นต้น
2.การปฏิบัติเป็นการลงมือทำตามแผนที่วางไว้ ให้สอดคล้องกับสิ่งที่จดเตรียมไว้
เปิดโจทย์ VDO ครั้งที่ 1
สหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
ประชากรในชุมชน PAR
องค์การบริหารส่วนตำบล
การประปา
กระทรวงศึกษา
ผู้นำชุมชน
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
สำนักงานเทศบาล
กระทรวงพลังงาน
กระทรวงการคลัง
กรมมหาดไทย
กระทรวงพาณิช
ปัญหาที่พบในชุมชนชาวเลราไวย์
ปัญหาความปลอดภัยในการดำเนินชีวิต
ไม่มีการจัดระบบสุขภาพอนามัยในด้านสุขภาพ
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาไฟฟ้าไม่พอใช้
ปัญหาชุมชนแออัด
ปัญหาการเข้าถึงสิทธิการรักษา
ปัญหาเรื่องห้องน้ำไม่พอใช้
ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น น้ำเน่าเสีย
มีขยะ สภาพแวดล้อมไม่น่าอยู่
ปัญหาเรื่องบ้านเรือนแต่ละหลังไม่มีบ้านเลขที่