Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สูติศาสตร์หัตถการ, image, image, image, image, image, image, image, image,…
สูติศาสตร์หัตถการ
การช่วยทารกที่มีภาวะคลอดไหล่ยาก (Shoulder dystocia)
หมายถึง
ภาวะที่มีการติดแน่นของไหล่ บริเวณใต้กระดูกหัวเหน่ส ศีรษะของทารกสามารถคลอดได้ปกติ ไม่สามารถคลอดไหล่และลำตัวออกมาได้
ภาวะที่ศีรษะทารกคลอดแล้ว แต่ไหล่ยังไม่คลอดภายใน นาที หรือเห็นว่าไหล่ออกยากแล้ว ต้องใช้หัตถการอย่างอื่น
การวินิจฉัย
Turtle sign (คางแนบติดแน่นกับบริเวณปากช่องคลอด)
กลไกการคลอด
พบไหล่หลังอยู่ใต้ต่อ Promontary of sacrum ไหล่หน้าอยู่เหนือระหว่างรอยต่อกระดูกหัวเหน่า (Symphysis pubis)
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
มีทัศนคติไม่ดีต่อการคลอดยาก
ได้รับการบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะ
ตกเลือดหลังคลอด
เกิดฉีกขาดบริเวณช่องคลอด ฝีเย็บ ปากมดลูก
ติดเชื้อหลังคลอด
ทารก
Hypoxia, Hypoxemia
ได้รับบาดเจ็บ เช่น กระดูกไหปลาร้า/กระดูกต้นแขน
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
มารดา GDM
ฺBMI มากกว่าหรือเท่ากับ 30 kg/m2 หรือน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติขณะท้อง
มีประวัติคลอดไหล่ยาก
ช่องเชิงกรานแคบหรือเป็นชนิด Ptatypelloid pevis
ทารกน้ำหนักตั้งแต่ 4000 กรัมขึ้นไป
การช่วยคลอดไหล่ยาก
ตามคนช่วย แพทย์อาวุโส พยาบาลกุมารแพทย์ วิสัญญีแพทย์
สวนปัสสาวะ ตัด Episiotomy ใช้ลูกยางแดงดูดมูกในจมูกและปากจนหมด
Suprapubic pressure
McRoberts maneuver
ถ้ายังไม่คลอดพิจารณาช่วยคลอดในข้อ 4
4.
Woods corkscrew
Rubin maneuver
Delivery of posterior arm
All-four or Gaskin maneuver
Posterior axilla sling traction
Zavanelli maneuver
กรณียังทำคลอกไหล่ทารกไม่ได้ ให้เลือกทำข้อ 5 ดังนี้
5.
Deliberate fracture of clavicle
Cleidotomy (กรณีทารกตายแล้ว)
ประเมินสภาพทารกและให้การช่วยเหลือ ประเมินภาวะแทรกซ้อนในมารดาและให้การรักษาบันทึกเวชระเบียน
การพยาบาล
มารดา
ดูแลให้ได้รับ ATB ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินทางด้านจิตใจและการประคับประคองจิตใจของมารดา เพื่อลดความวิตกกังวล
ประเมิน V/S มารดา ขณะได้รับการทำคลอดไหล่ยากทุก 5 นาที หรืออย่างต่อเนื่อง ภายหลังช่วยคลอดไหล่ยากทุก 15 นาที ใน 1 ชั่วโมงแรก ทุก 3 0นาที ในชั่วโมงที่
2 และทุก 4 ชั่วโมงใน 24 ชั่วโมงแรก
ประเมินแผลฝีเย็บและช่องทางคลอด
ประเมินระดับยอดมดลูกและการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินความเจ็บปวด
ประเมินกระเพาะปัสสาวะ
ทารก
เฝ้าระวังภาวะขาดออกซิเจน การติดเชื้อ การบาดเจ็บจากการช่วยคลอดด้วยหัตถการต่างๆ
ดูแลให้ได้รับความอบอุ่นเพื่อป้องกันภาวะ Birth asphyxia
ประเมินร่างกายมารกว่ามีการได้รับบาดเจ็บหรือไม่
ประเมิน Apgar score และให้การช่วยเหลือเมื่อเกิด Birth asphyxia
ประสานกับหน่วย NICU เพื่อส่งย้ายทารกไปรักษาอย่างต่อเนื่อง
ประสานกับกุมารแพทย์ เพื่อแจ้งกล่าวต่อมารดาและญาติเพื่อรับทราบและเข้าใจเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและเพื่อให้มีส่วนร่วมต่อการตัดสินใจที่ได้รับการดูแลรักษาทารกแรกเกิด
การคลอดด้วยเครื่องดูดสูญญากาศ (Vacuum)
ข้อบ่งชี้
ระยะที่ 2 ของการคลอดครรภ์แรกนานกว่า 2 ชม. ครรภ์หลัง 1 ชม.
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี เมื่อให้ยากระตุ้นแล้ว
มาดาอ่อนเพลีย ไม่มีแรงเบ่งคลอด
มารดามีโรคแทรกซ้อนที่ไม่ควรออกแรงแบ่ง เช่น โรคหัวใจ ครรภ์เป็นพิษ
ศีรษะทารกอยู่ในท่าปกติซึ่งคลอดยาก เช่น ท่าขวาง
ภาวะทารกเครียด
ส่วนประกอบเครื่องดูด
ถ้วยสูญญากาศ (Vacuum cup) ประกอบด้วย
ถ้วยโลหะ (Metal cap)
ถ้วยยาง (Rubber cap)
เครื่องสร้างสูญญากาศ (Vacuum/Suction pump)
ด้ามจับ (Traction bar/handle)
ท่อยาง (Suction tube)
ภาวะที่ต้องมีพร้อม (Prerequissites) ก่อนช่วยคลอดด้วยเครื่องสูญญากาศ
ถุงน้ำทูนหัวแตกแล้ว
ปากมดลูกควรเปิดมาก
ไม่มีการผิดสัดส่วนชัดเจน (Absolute CPD)
ทารกเป็นท่าศีรษะ ยิ่งก้มมากยิ่งดี
ควรวางถ้วยให้อยู่ใกล้ท้ายทอยมากที่สุด
ควรทราบท่าของทารกและระดับของส่วนนำ
ข้อบ่งห้าม
มีการผิดสัดส่วนของทารกอย่างชัดเจนระหว่างศีรษะทารกกับช่องเชิงกราน
ทารกอยู่ในท่าผิกปกติ
ภาวะทารกเครียด
ทารรกก่อนกำหนด
ภาวะทารกที่มีความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
ปากมดลูกฉีกขาด
ช่องคลอดและฝีเย็บฉีกขาด
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อ
ทารก
Ban artification
Caput succedaneum
เกิดรอยถลอก
ผิวหนังตาย
Cephalhematoma
การพยาบาล
การพยาบาลก่อนทำ
เตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือที่จำเป็น
อธิบายให้ผู้คลอดทราบถึงความจำเป็นที่ต้องช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ
อธิบายให้ผู้คลอดทราบถึงภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดต่อทารก
จัดท่าผู้คลอดในท่า Litotomy
mทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ุภายนอกด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
สวนปัสสาวะให้ผู้คลอด
ช่วยเหลือแพทย์ขณะทำ Pudendal nerve block
อยู่เป็นเพื่อนและให้กำลังใจผู้คลอด
การพยาบาลขณะทำ
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที หรือ on EFM
อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจในการทำ V/E
แนะนำไม่ให้ผู้คลอดเบ่งขณะแพทย์ใส่ถ้ายเข้าไปในช่องคลอด
ประเมิน UC กระตุ้นให้ผู้คลอดช่วยเบ่งและบอกแพทย์เพื่อดึงในขณะมดลูกหดรัดตัว
การพยาบาลหลังทำ
ประเมินการบาดเจ็บของทารกแรกเกิด
ประเมิน V/S ทุก 15 นาที ใน 1 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ทุก 30 นาที จนครบ 2 ชั่วโมง
ประเมิน UC ทุก 15 นาทีใน 1 ชั่วโมง และทุก 30 นาที ใน 2 ชั่วโมง
แนะนำให้ผู้คลอดคลึงมดลูกด้วยตนเอง
ประเมินลักษณะและปริมาณเลือดที่ออกจากช่องคลอด
ประเมินกระเพาะปัสสาวะ กระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะเอง และสวนปัสสาวะหากถ่ายไม่ออก
ประเมินลักษณะฝีเย็บอาการปวดแผลฝีเย็บดูแลความสุขสบายทั่วไป
แนะนำรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
หมายถึง เครื่องมือที่ใช้สำหรับการดึงศีรษะทารกออกจากช่องทางคลอด เสริมแรงจากการหดรัดตัวของมดลูกในขณะเจ็บครรภ์ร่วมกับแรงเบ่งของผู้คลอด