Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงไทย อายุ 17 ปี - Coggle Diagram
หญิงไทย อายุ 17 ปี
ระยะที่ 2 ระยะทารกคลอด
คลอดวันที่ 15/09/65 เวลา 15.07 น. Apgar score 9,10,10
-
-
-
-
ระยะเวลา
ระยะที่ 2 ของการคลอด ตั้งแต่ปากมดลูกเปิดหมด เวลา 14.20 น.จนถึงทารกคลอด เวลา 15.07 น. ใช้เวลา 47 นาที
(ทฤษฎี: ระยะเวลาในระยะที่ 2 ของการคลอด ครรภ์แรกใช้เวลา1-2 ชั่วโมง ครรภ์หลังใช้เวลาไม่เกิน 30นาที- 1ชั่วโมง) จากกรณีศึกษาใช้เวลาระยะที่ 2 ของการคลอด รวม 47 นาที เป็นไปตามทฤษฎี
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
-
-
เกณฑ์การประเมินผล
-
2.Vital sing ปกติ เช่น HR, RR, BP อยู่ในเกณฑ์ปกติ อัตราการหายใจอยู่ระหว่าง 14-24 ครั้ง/นาที อุณหภูมิร่างกายอยู่ระหว่าง 36.5-37.4 องศาเซลเซียส อัตราการเต้นของหัวใจ 60-100 ครั้ง/นาที ค่า O2 sat มากกว่าหรือเท่ากับ 95%
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินความเจ็บปวดของมารดา เพื่อให้การช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง โดยใช้แบบประเมิน Pain score
และสังเกตจาก
สีหน้า และการเคลื่อนไหว เช่น แสดงความเจ็บปวดทางสีหน้า ขมวดคิ้ว กำมือแน่น บิดตัวไปมา การแสดงทางการออกเสียง และคำพูด เช่น เสียงคราง พูดบ่น ขอความช่วยเหลือ ㆍ พฤติกรรมด้านอารมณ์ เช่น หงุดหงิด ฉุนเฉียว
- อธิบายหรือทบทวนให้มารดาเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการคลอดว่าอยู่ในระยะใดรวมทั้งแผนการรักษาและการพยาบาล
- ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก และความรุนแรง ทุก 30 นาที
- ดูแลจัดท่านอนของมารดาให้อยู่ในท่าที่สบายและเหมาะสม อาจเป็นท่านอนตะแคงช้าย หรือนอนหมุนหัว
เตียงสูงกระตุ้นให้มารดาเปลี่ยนอิริยาบถอย่างเหมาะสม
- แนะนำเทคนิคการหายใจ เมื่อมดลูกหดรัดตัวถี่ ๆ จะใช้พลังงานจำนวนมาก โดยเฉพาะออกซิเจน เมื่อมีอาการปวดทำให้กลั้นหายใจ เกิดภาวะขาดออกชิเจนได้ โดย
ㆍ ในระยะที่ปากมดลูกเปิด 4-7 เซนติเมตร ใช้การหายใจแบบตื้นเร็วและเบา (Shallow accelerated decelerated Breathing) โดยเริ่มต้นด้วยการหายใจแบบล้างปอด 1 ครั้ง ตามด้วยขณะมดลูกเริ่มหดรัดตัวให้หายใจแบบช้าก่อน เมื่อมดลูกหดรัดตัวเต็มที่แล้ว จึงเปลี่ยนเป็นการหายใจแบบตื้นๆ เร็วๆ เบาๆ ไปเรื่อย ๆ จนรู้สึกว่ามดลูกคลายตัว จึงกลับไปหายใจแบบช้าอีกครั้ง ปิดท้าย หายใจแบบล้างปอด 1 ครั้ง
ในระยะที่ปากมดลูกเปิด 8-10 เชนติเมตร ใช้การหายใจแบบตื้นเร็วและเป่าออก (Pant-blow breathing) โดยเริ่มต้นด้วยการหายใจแบบล้างปอด 1 ครั้ง ตามด้วยหายใจเข้าออกทางปากตื้นๆ เร็วๆ เบาๆ 4 ครั้ง ติดต่อกัน แล้วเป่าลมออก 1 ครั้ง เมื่อมดลูกคลายตัวให้หายใจแบบล้างปอด 1 ครั้ง
6.ดูแลแนะนำวิธีการลูบหน้าท้องโดยวางมือบริเวณเหนือหัวเหน่า ลูบออกทางด้านข้างทั้งสองข้างของหน้าท้องพร้อมกับหายใจเข้า และพอลูบมาชิดกันบริเวณยอดมดลูกให้ลูบลงตรงกลางท้อง ผ่านสะดือลงไปบริเวณเหนือหัวเหน่าพร้อมกับหายใจออก ทำช้ำขณะมดลูกหดรัดตัว
- นวดบริเวณบั้นเอว โดยให้มารดานอนตะแคง ผู้นวดลึกๆ เป็นวงกลมที่บริเวณกระดูก sacrum ขณะมดลูกมีการหดรัดตัว น้ำหนักมือที่กดให้คงที่สม่ำเสมอ หรืออาจจะนวดเป็นรูปเลข 8 โดยผู้นวดกำมือ และใช้สันมือหรือลูกบอลนวดให้มารดา กดน้ำหนักค่อนข้างแรงบนเป็นรูปเลข 8 วงเล็ก แล้วค่อยๆ เบาแรงกด เมื่อวนมือเป็นรูปเลข 8 วงใหญ่ขึ้น หรือให้มารดานวดด้วยตัวเอง โดยนอนตะแคง และหงายหลังมือข้างหนึ่งกดน้ำหนักมือลงที่บริเวณส่วนล่างของหลังเพื่อที่จะให้แรงกดมากขึ้น ใช้นิ้วหัวแม่มือยืดส่วนล่างสุดของกระดูกสันหลัง งอนิ้วทั้ง 4 กดน้ำหนักลงที่นิ้วทั้ง 4 แล้วถูไปตามขวาง
- อยู่ใกล้ชิดและให้กำลังใจมารดาพูดปลอบโยนแสดงความเห็นใจในความเจ็บปวดที่มารดากำลังเผชิญอยู่รวมถึงเปิด โอกาสให้ซักถามข้อสงสัย
- ดูแลความสะอาดส่วนตัวให้มารดา เช่น เช็ดหน้า เช็ดตัว ด้วยผ้าเย็นให้ เพื่อเกิดความสบายตัว
- จัดสิ่งแวดล้อมให้อากาศถ่ายเทสะดวก ไม่ร้อนจนเกินไป เพื่อส่งเสริมการพักผ่อนแก่มารดา เมื่อจัด
สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพักผ่อน
-
-
ระยะที่ 3 ระยะรกคลอด
ระยะที่ 3 ของการคลอด ตั้งแต่ทารกคลอดเวลา 15.07 น. ถึงรกคลอดเวลา 15.15 น. ใช้เวลา 8 นาที (ทฤษฎี : ระยะเวลาในระยะที่ 3 ของการคลอด นับตั้งแต่ทารกคลอดจนถึงรกและเยื่อหุ้มทารกคลอดครบ ระยะเวลาไม่ควรเกิน 30 นาที ทั้งในผู้คลอดครรภ์แรกและครรภ์หลัง) จากกรณีศึกษาใช้เวลาระยะที่ 3 ของการคลอด 8 นาที เป็นไปตามทฤษฎี
เวลา 15.15 น. รกคลอด รกลอกตัวแบบ Duncan's method คลอดรกด้วยวิธี Control cord traction น้ำหนักรก 460 gm. ประเมินการฉีกขาดของแผลฝีเย็บอยู่ในระดับ 2"d degree Estimated blood loss = 200 ml.
-