Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๕ ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑, 3df2h9dum3ymgyd9_screen shot 2012-06-21 at 9…
บทที่ ๕ ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
การพัฒนาการศึกษาที่สำคัญ
๓. ด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
สถานศึกษายุคใหม่จะไม่มีผู้สอน ไม่มีผู้เรียน
มีแต่ผู้เรียนรู้ และผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ ที่คอยช่วยเหลือผู้เรียนในเรื่องต่าง ๆ
๔. ด้านการออกแบบสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้สำหรับสตวรรษที่ ๒๑
การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีถ้าผู้เรียนมีส่วนร่วม
ผู้เรียนยุคใหม่ใส่ใจ และสนใจเทคโนโลยี สภาพในห้องเรียนยุคใหม่
๒. ด้านผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑
โฮวาร์ด การ์ดเนอร์
นำเสนอจิตลักษณะที่สำคัญที่ควรปลูกฝังให้แก่บุคคลในอนาคต
จิตสร้างสรรค์ (creating mind)
จิตรู้เคารพ (respectful mind)
จิตรู้สังเคราะห์ (synthesizing mind)
จิตรู้จริยธรรม (ethical mind)
จิตเชี่ยวชาญ (disciplined mind)
๑. ด้านการบริหารการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑
เน้นการสอนให้มีความลึกซึ้งมากยิ่งขึ้นในเชิงนโยบายทางด้านการศึกษา
มุ่งเน้นนำทักษะการคิดระดับสูงลงไปกิจกรรมการเรียนการสอน
๕. ด้านการประเมินสำหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
กรอบแนวคิดในการประเมินในศตวรรษที่๒๑ ขัดแย้งกับกรอบแนวคิดเก่า ๆ ในเรื่องความคงเส้นคงวาของการประเมินความเป็นบรรทัดฐานเดียวกัน
จะไม่มีสภาพแวดล้อมที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ผู้เรียนบางคนใช้เวลาน้อยในการประสบความสำเร็จ
การจัดกระบวนการเรียนรู้
ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก เสนอแนะเครื่องมือการเข้าถึงองค์ความรู้ผ่านวิธีการต่าง ๆ
โดยเฉพาะผ่านTechmology
ให้เข้าถึงความรู้ได้อย่างรวดเร็ว และกว้างขวาง
นำความรู้ที่ได้มาแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในห้องเรียน เรียกกระบวนการเรียนรู้แบบนี้ว่า "Active Learning"
เปลี่ยนบทบาทครูจากผู้บรรยายเป็นคณะครูร่วมกัน
ออกแบบกิจกรรมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ (Pedagogy)
ให้นักเรียนใช้เป็นเครื่องมือไปเรียนรู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
หลักการสำคัญของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
๓. การเรียนรู้ที่แท้จริงขับดันด้วยฉันทะ (Internal Motivation)
๔. มนุษย์มีพหุปัญญา (Multiple Intelligence)
๒. การเรียนรู้ในระดับสร้างกระบวนทัศน์ (Mental Model Building)
๕. การเรียนรู้เป็นกิจกรรมทางสังคม (Social Learning)
๑. การเรียนรู้ที่แท้จริงอยู่ในโลกจริงหรือชีวิตจริง (Authentic Learning)
สาระหลักและทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
สาระวิชาหลัก
เศรษฐศาสตร์
วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์
ภูมิศาสตร์
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
ภาษอังกฤษ
การปกครอง และหน้าที่พลเมือง
ทักษะเพื่อดำรงชีวิต
ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ
ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ (Leadership and Responsibility)
ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม (Social and Cross-Cultural Skills)
การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง (Initiative and Self-Direction)
ความยืดหยุ่นและการปรับตัว (Flexibility and Adaptability)
การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability)
ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม
ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving)
การสื่อสารและการร่วมมือ (Communication and Collaboration)
ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
ทักษะด้านสารสนเทศ (Information Literacy)
ทักษะด้านสื่อ (Media Literacy)
ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Communications and Technology, Literacy
ระบบส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
หลักสูตรและวิธีการสอนในศตวรรษที่ ๒๑
การพัฒนาวิชาชีพในศตวรรษที่ ๒๑
การประเมินผลทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
บรรยากาศการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
มาตราการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
การประเมินทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
1) สร้างความสมดุลในการประเมินผลเชิงคุณภาพ
และทดสอบรวมสาหรับการประเมินผลในชั้น
โดยการใช้แบบทดสอบมาตรฐานสาหรับการทดสอบย่อย
2) เน้นการนาประโยชน์ของผลสะท้อนจากการปฏิบัติของผู้เรียนมาปรับปรุงแก้ไขงาน
3) ใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบวัดและประเมินผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
4) สร้างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสมงาน (Portfolios) ของผู้เรียนให้เป็นมาตรฐานและมีคุณภาพ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียนในศตวรรษที่ ๒๑
เพื่อให้ประสบความสำเร็จทั้งในด้านการทำงานและการดำเนินชีวิตตามกรอบแนวคิด
ผู้เรียนต้องเรียนรู้ในทักษะที่จำเป็นเพื่อให้ประสบความสำเร็จ
เช่น
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
การแก้ปัญหา
ความคิดสร้างสรรค์
การสื่อสาร และความร่วมมือกัน
เพื่อช่วยให้ผู้ปฏิบัติสามารถบูรณาการทักษะกับการสอนเนื้อหาด้านวิชาการ