Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหัวใจ - Coggle Diagram
ระบบหัวใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
(Cardiac arrhythmia)
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ EKG
เป็นกราฟบันทึกการเปลี่ยนแปลงศักดาไฟฟ้าที่ผิวหนังของร่างกาย ซึ่งเกิดจาก Depolarization และ
Repolarization ของกล้ามเนื้อหัวใจ
V1 วางบน ICS 4th ชิดกับ sternum ข้างขวา
V2 วางบน ICS 4 ชิดกับ sternum
V3ข้างซ้าย วางบนกึ่งกลางระหว่าง V 2 กับ V 4
V4 วางบน ICS 5th ตรงแนว Mid – clavicular line ข้างซ้าย
V5วางบน ICS 5th ตรงแนว Anterior – axillary line ข้างซ้าย
V6วางบน ICS 5th ตรงแนว Mid – axillary line ข้างซ้าย
ลักษณะของคลื่นไฟฟ้าหัวใจปกติ เรียกว่า Normal Sinus Rhythm (NSR)
P wave
PR interval
Q wave
QRS complex
ST segment
T wave
U wave
QT interval
Sinus tachycardia (หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ)
อาการ ถ้าอัตราเร็วมาก ผู้ป่วยมักจะรู้สึกเหนื่อย ใจสั่น และหายใจได้ไม่เต็มที่
การพยาบาล
ค้นหาสาเหตุของ Sinus tachycardia แล้วให้การรักษาพยาบาลเพื่อแก้ไขตามสาเหตุ
บันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ประเมินอาการเปลี่ยนแปลง
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
Supraventricular tachycardia (SVT)
ลักษณะ EKG เป็นแบบ regular narrow complex
P wave รวมกับ T wave เป็นคลื่นเดียวแยกไม่ออก
รักษา
อาการคงที่ หาสาเหตุการเกิด Tachycardia และให้การรักษาตามสาเหตุ การทํา Vagal maneuvers
การนวด Carotid sinus จะได้ผล 20-25 %
ให้ยา Antiarrhythmic agents
อาการไม่คงที่ Electrical cardioversion เริ่ม 50-100 J biphasic
ฉีดAdenosine Adenosine6mgIVrapidpushตามด้วย0.9%NSS
20 ml. flush ยกแขนขึ้น หากไม่ผลใน 1-2 นาที ให้เป็น 12 mg iv stat ไม่เกิน 2 ครั้ง
Sinus bradycardia (หัวใจเต้นช้ากว่าปกติ)
สาเหตุเกิดจากการทํางานของระบบประสาท Parasympathetic ที่มากไป
อาการ
มักไม่ทําให้เกิดอาการใด ๆ แต่ถ้าอัตราช้ามากจะทําให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจในหนึ่งนาที ลดลง
การพยาบาล
บันทึกคลื่นไฟฟ้า
บันทึกและเปรียบเทียบอัตราการเต้นของหัวใจอย่างต่อเนื่อง
ถ้าหัวใจเต้นช้า กว่า 40 ครั้งต่อนาที ฉีด Atropine หรือIsoproterenolหยดเข้าทาง IV
หลีกเลี่ยงการให้ยาที่มีผลทําให้อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง
Sinus arrhythmia (หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ)
อาการ
คลําชีพจรได้ไม่สม่ำเสมอ
Premature atrial contraction (PAC หัวใจห้องบนเต้นก่อนจังหวะ)
การพยาบาล ถ้าPACมีนานๆครั้งไม่จําเป็นต้องรักษา สังเกตความถี่ของการเกิด PAC เปรียบเทียบ และบันทึกกราฟไว้
Atrial flutter
การพยาบาล บันทึกกราฟ อัตรา จังหวะการเต้นของหัวใจ
ประเมินสภาพผู้ป่วย
ถ้า atrial rate > 240 ครั้ง/นาที อาจต้องให้ Anticoagulated
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของหลอดเลือดแดงโคโรนารี
อาการเจ็บหน้าอก (Angina pectoris)
มักเกิดจากหลอดเลือดแดงโคโรนารีแข็ง
ลักษณะของการเจ็บหน้าอก
Stable angina
Unstable angina
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (ACS)
ส่วนใหญ่เกิดจากหลอดเลือดหัวใจตีบแคบจากภาวะ Atherosclerosis
ขบวนการเกิด Atherosclerosis
ระยะที่มีไขมันจับตัว (Fatty streaks)
เกิดแผ่นพังผืด (Fibrous plasques)
เกิดแผ่นคราบหนา (Complicated plaques)
อาการ
จะมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก
การรักษา
การให้ยาต้านเกล็ดเลือดและยาปอ้ งกนั การแข็งตัวของเลือด
การเปดิ หลอดเลือดหัวใจ (Coronary reperfusion)
การลดอาการปวด
การลดขนาดกล้ามเนื้อหัวใจตาย
การลด Ventricular remodeling
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure)
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure)
สาเหตุ
ความผิดปกติของหัวใจแต่กําเนิด
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
ความดันโลหิตสูง
ภาวะความดันเลือดในปอดสูง
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
New onset heart failure
Transient heart failure
Chronic heart failure
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามการทํางานของกล้ามเนื้อหัวใจ
Systolic heart failure หรือ heart failure with reduced EF (HFrEF)
Diastolic heart failure หรือ Heart failure with preserved EF (HFpEF)
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามอาการและอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ
Left sided-heart failure
Right sided-heart failure
ชนิดของหัวใจล้มเหลวที่แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
High-output heart failure
Low-output heart failure
อาการ
หายใจเหนื่อย เหนื่อยง่ายเมื่อออกแรง เหนื่อยหอบในท่านอนราบ อาการหายใจไม่สะดวกขณะนอนหลับและต้องตื่นขึ้น หายใจแบบ Cheyne – Stokes ไอ ภาวะปอดบวมน้ํา เขียว เหนื่อยล้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปัสสาวะน้อย
ภาวะหัวใจข้างขวาล้มเหลว
อาการ
บวม ตับและม้ามโต ท้องมานหลอดเลือดดำที่คอโป่งตึง ปัสสาวะบ่อยในกลางคืน
รักษา
ารให้ออกซิเจนในผู้ที่อาการไม่รุนแรงให้ออกซิเจนแคนนูลา 4 – 6 ลิตร/นาที ในรายที่มีอาการรุนแรง และเฉียบพลันอาจต้องใช้เครื่องช่วยหายใจและใส่ความดันบวกค้างไว้หลังหายใจออก
รัษาด้วยยา
ลดภาระงานของกล้ามเนื้อหัวใจ ให้ยาขับปัสสาวะและยาขยายหลอดเลือด จัดท่า High Fowler’s position