Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Amniocentesis (การเจาะน้ำคร่ำ), image, ดาวน์โหลด, images, นางสาววรินทร…
Amniocentesis (การเจาะน้ำคร่ำ)
ความหมาย
การใช้เข็มเจาะผนังผ่านผนังช่องท้องเเละมดลูกเข้าไปในถุงน้ำคร่ำเเล้วเอาน้ำคร่ำมาวินิจฉัย
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
Down's syndrome
ความพิการเเต่กำเนิด
Spinabifida
ระยะที่เหมาะสมในการทำ มี 2 ระยะ
1.Early amniocentesis 12-14 week.
2.Standard amniocentesis 16-18 week.
ข้อบ่งชี้ในการทำ
หญิงตั้งครรภ์อายุ > 35 ปี
เคยคลอดทารกมีความพิการทางพันธุกรรม
หญิงตั้งครรภ์มีพี่น้องเคยคลอดบุตรที่พิการทางพันธุกรรม
หญิงตั้งครรภ์เป็นพาหะของโรคทางพันธุกรรม
หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่เเน่ใจว่าทารกจะครบกำหนดหรือปอดทารกเจริญสมบูรณ์หรือยัง
บทบาทพยาบาล
1.อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจถึงวิธีการและขั้นตอนในการตรวจและเปิดโอกาสให้ซักถามเพื่อให้เกิดความเข้าใจและให้ความร่วมมือ
4.ดูเเลจัดท่าจัดท่าให้หญิงตั้งครรภ์นอนหงายราบบนเตียงตรวจมือทั้งสองข้างวางแนบลําตัวเปิดผ้าบริเวณหน้าท้องจากใต้ลิ้นปี่จนถึงหัวเหน่า
หุ้มหัวตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงโดยใช้ถุงมือปราศจากเชื้อหรือถุงพลาสติกปราศจากเชื้อที่ใส่สารหล่อลื่นไว้ในถุงให้แนบชิดกับหัวตรวจให้มากที่สุด
แพทย์ยืนยันตําแหน่งที่จะลงเข็มเจาะด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงอีกครั้ง
แพทย์จะใช้เข็มที่ใช้สําหรับเจาะช่องไขสันหลัง (spinal needle) ขนาดเบอร์ 20 - 22 ยาว 3.5 นิ้ว เจาะผ่านผิวหนังทางหน้าท้องลงเข้าไปในกล้ามเนื้อมดลูกและทะลุเข้าไปในถุงนํ้าครํ่าโดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูงตรวจติดตามปลายเข็มและบริเวณที่เจาะตลอดเวลา (ultrasound-guided)
หลังจากแทงเข็มเข้าไปในโพรงมดลูกแล้วแพทย์จะถอดเข็มข้างใน (stylet) ออกแล้วใช้กระบอกฉีดยาขนาด 3 มิลลิลิตรดูดเอานํ้าครํ่า 0.5-1 มิลลิลิตรแรกทิ้งไปก่อนเนื่องจากอาจมีการปนเปื้อนเลือดหรือเซลล์ของหญิงตั้งครรภ์ขณะที่ปลายเข็มเจาะผ่านผิวหนังและผ่านเข้าไปในถุงนํ้าครํ่าได้
2.ให้หญิงตั้งครรภ์ลงลายมือชื่อในใบยินยอมเข้ารับการตรวจไว้เป็นหลักฐาน
ถ่ายปัสสาวะเพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ก่อนเจาะนํ้าครํ่าแพทย์จะตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง(ultrasound)เพื่อดูความผิดปกติต่างๆในโพรงมดลูกและความผิดปกติของทารกโดยตรวจยืนยันว่าทารกยังมีชีวิตอยู่ยืนยันอายุครรภ์จํานวนของทารกตําแหน่งของรกและทารกปริมาณนํ้าครํ่าและตําแหน่งของนํ้าครํ่าที่
ต้องการเจาะ
เมื่อได้ตำเเหน่งที่จะลงเข็มเจาะเเล้ว เเพทย์ผู้ตรวจทำการทาน้ำยาฆ่าเชื้อที่บริเวณหน้าท้องของหญิงตั้งครรภ์
7.ปูผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางซึ่งเป็นผ้าปลอดเชื้อซึ่งจะเปิดหน้าท้องเฉพาะบริเวณที่เเพทย์จะเจาะน้ำคร่ำ
หลังจากนั้นแพทย์จึงใช้กระบอกฉีดยาขนาด 20 มิลลิลิตร ไล่อากาศภายในกระบอกออกให้หมดก่อนต่อเข้ากับหัวเข็มโดยต้อให้แน่นแล้วทําการดูดนํ้าครํ่าออกมาไม่ควรเกิน 20 มิลลิลิตรไม่นับจํานวนที่ดูดทิ้งไปเพื่อส่งตรวจทางพันธุศาสตร์
เมื่อได้นํ้าครํ่าตามปริมาณที่ต้องการแพทย์จะดึงเข็มออกหากไม่ได้นํ้าครํ่าหรือได้ปริมาณนํ้าครํ่าไม่เพียงพอ แพทย์อาจพิจารณาเจาะซํ้าแต่ไม่ควรทําเกิน 2 ครั้งเนื่องจากอัตราการสูญเสียทารกจะสูงขึ้น โดยทั่วไปแพทย์จะนัดให้หญิงตั้งครรภ์มาเจาะนํ้าครํ่าอีกครั้งใน2-3 วันถัดไปหรือ 1 สัปดาห์
นํ้าครํ่าที่เจาะได้ในกระบอกฉีดยาขนาด 20 มิลลิลิตร นําหัวเข็มที่มีปลอกหุ้มมาต่อโดยให้พยาบาลผดุงครรภ์หรือผู้ช่วยเขียนชื่อ - สกุลและวันที่เจาะบนกระดาษแล้วนําไปติดที่กระบอกฉีดยาเพื่อนําส่งตรวจ
เเพทย์ที่ทําการตรวจบันทึกผลการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง เวลาที่เจาะ จำนวนครั้งที่เเทงเข็ม สีและปริมาณนํ้าครํ่าที่เจาะได้่การเจาะผ่านรกหรือไม่และความผิดปกติอื่นๆในระหว่างการเจาะนํ้าครํ่าโดยละเอียด
ภาวะเเทรกซ้อน
ต่อมารดา
1.เกิดการเสียเลือดตรงบริเวณแทงเข็ม เเละhematoma ที่ผนังหน้าท้อง
2.การติดเชื้ออาจเกิด chorioamnioitis เเละอาจลุกลามเป็นการติดเชื้อในกระเเสเลือด
3.ปวดเกร็งเล็กน้อยบริเวณท้องน้อย มีเลือดหรือน้ำคร่ำออกทางช่องคลอด โอกาสเเท้ง ทารกตาย เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ต่อทารกในครรภ์
1.เเทงเข้าเข็มถูกทารก (Fetal punture) อาจทำให้เกิด Subcutaneous emphysema เเละ fetal pneumothorax
ถ้าแทงถูกสายสะดืออาจทำให้เกิด hematoma จนกด umbilical vessel ทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจนได้
เกิดการติดเชื้อ
คำเเนะนำหลังการเจาะ
ปวดเกร็งหน้าท้องมาก
ไข้ภายใน 2 สัปดาห์
มีน้ำหรือเลือดออกทางช่องคลอด
พักหลังการเจาะ 1 วัน ควรงดการออกเเรงมาก
ยกของหนัก
2.ออกกำลังกาย
3.งดการร่วมเพศ 1 สัปดาห์
4.ไม่ควรเดินทางไกล 7 วันหลังการเจาะน้ำคร่ำ
เเนะนำให้สังเกตลูกดิ้น
การพยาบาลหลังเจาะน้ำคร่ำ
1.ดูแลให้หญิงตั้งครรภ้ได้นอนพักบนเตียงตรวจประมาณ 30 นาทีหรือดูแลให้นอนพักในห้องสังเกตอาการประมาณ 30 นาทีถึง 1 ชั่วโมงเพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นเช่น หน้ามืด เป็นลมหรือปวดท้องเป็นพักๆมดลูกหดรัดตัว
2.บันทึกสัญญาณชีพของหญิงตั้งครรภ์ 2 ครั้ง ห่างกัน 15 นาที
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 15 นาที จนครบ 1 ชั่วโมง
นางสาววรินทร อินแป้น 62102301102 กลุ่ม B4