Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด
กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิด (congenital heart disease)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว
กลุ่มที่มีการไหลลัดของเลือดจากหัวใจซีกซ้ายไปซีกขวา
Ventricular Septal Defect (VSD) มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นระหว่าง เวนตริเคิล จึงทำให้เกิดทางติดต่อระหว่างเวนตริเคิลซ้ายและขวา
Atrial Septal Decfect (ASD) มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นระหว่างเอเตรียม
Patent Ductus Arteriosus (PDA) หลอดเลือด ductus arteriosus ยังเปิดอยู่ภายหลังเด็กเกิด ทำให้เกิดการติดต่อระหว่างหลอดเลือดแดงพัลโมนารี
2.โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีการอุดกั้นการไหลของเลือด
Aortic stenosis (AS) มีการตีบของลิ้นเอออร์ติค หรือมีการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิลซ้าย
Pulmonary Stenosis (PS) มีการตีบของลิ้นพัลโมนารี หรือมีการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิลขวา
Coarctation of the Aorta (CoA) มีการคอดหรือการตีบแคบที่หลอดเลือดเอออร์ต้าตรงบริเวณหลอดเลือดductus arteriosus มาเชื่อมกับหลอดเลือดเอออร์ต้า
การพยาบาล
การซักประวัติ 2. การตรวจร่างกาย 3.การประเมินภาวะจิตสังคม
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียว
1.กลุ่มมีเลือดไปปปอดน้อย อาจมีภาวะสมองขาดออกซิเจนเฉียบพลัน
Tetralogy of Fallot (TOF หรือ TF) โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียวที่มีเลือดไปปอดน้อยมีความผิดปกติ 4 อย่าง 1. การตีบของลิ้นพัลโมนารี 2. ผนังระหว่างเวนตริเคิลมีรูรั่วขนาดใหญ่ 3. ตำแหน่งของลิ้นเอออร์ติคเลื่อนไปทางด้านขวา 4. มีการหนาตัวของเวนตริเคิลขวา
2.โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก
Transposition of the Great Arteries (TGA) พบได้บ่อยที่สุด มีความผิดปกติ คือ มีการสลับที่กันของหลอดเลือดแดงใหญ่ที่ออกจากหัวใจ
การพยาบาล
การซักประวัติ 2. การตรวจร่างกาย 3. การประเมินภาวะจิตสังคม
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง
การติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ (Infective endocarditis) การอักเสบซึ่งเกิดจากการติดเชื้อของเยื่อบุหัวใจชั้นในสุด หรือเยื่อบุผิวภายในหัวใจ หรือลิ้นหัวใจ หรือเนื้อเยื่อข้างเคียงหรือหลอดเลือดแดงของหัวใจ
สาเหตุ แบคทีเรีย เชื้อรา ริคเกทเซีย (rickettsia) หรือไวรัส
อาการและอาการแสดง มีไข้ เสียงฟู่ของหัวใจ การตายของสมอง ภาวะซีด
การรักษา 1.ให้ยาปฏิชีวนะในขนาดสูงทางหลอดเลือดดำ 2.ติดตามเจาะเลือดส่งเพาะเชื้อเป็นระยะ 3.ตรวจสอบหาแหล่งของการติดเชื้อที่ทำให้เกิด IE
โรคหัวใจรูห์มาติค (Rheumatic Heart Disease) เกิดตามหลังไข้รูห์มาติคการติดเชื้อที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพของอวัยวะต่างๆ
ไข้รูห์มาติค (Rheumatic Fever) หมายถึง โรคที่มีการอักเสบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 1. กระเพาะเชื้อจากบริเวณคอ 2. antistreptolysin O (ASO)
การวินิจฉัยโรค Jone’s criteria ได้แก่ 1. 2 major criteria 2. 1 major criteria และ 2 minor criteria
การรักษา 1.ให้ยาปฏิชีวนะ 2. ให้ยาสำหรับต้านการอักเสบของหัวใจและข้อ ได้แก่ salicylate และ steroid 3. ให้นอนพัก 4. ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจวาย ให้การรักษาโดยให้ยา digitalis
กลุ่มอาการคาวาซากิ (Kawasaki Disease )
สาเหตุ จากเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ริกเก็จเชีย
พยาธิสรีรวิทยา มีการอักเสบของผนังหลอดเลือดแดงโคโรนารี่และหลอดเลือดแดงขนาดกลางอื่นๆ
อาการและอาการแสดง ไข้ ตาแดง ปากแดง การเปลี่ยนแปลงที่มือแดง เท้า ผื่นและต่อมน้ำเหลืองที่โต
การพยาบาล 1.ประเมินการทำงานของหัวใจและปอดและหลอดเลือด 2.ประเมินการไหลเวียนเลือดของแขนขา 3. วัดชีพจร 4. ดูปฏิกิริยาข้างเคียงของยา 5.ตวงและบันทึกน้ำดื่ม ปัสสาวะ ในรอบ 24 ชั่วโมง 6. ถ้ามีหัวใจวาย มีบวม อาจให้อาหารลดเค็ม 7. ชั่งน้ำหนักทุกวัน 8. ลดความกลัวและวิตกกังวล 9. การดูแลสุขภาพที่บ้าน