Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านจุลชีพ Antimicrobialdrugs - Coggle Diagram
ยาต้านจุลชีพ Antimicrobialdrugs
ยาปฏิชีวนะ
2.Cephalosporins
Fourth – generation
มีผลออกฤทธิ์กว้างและลึกที่สุด
โดยเฉพาะต่อเชื้อกรัมลบทั้งที่ไวและดื้อยาใน 3
กลุ่มแรกและยากลุ่มอื่น
อาการไม่พึงประสงค์
IM : ปวดร้อนบริเวณกล้ามเนื้อ
IV : อาจเกิดการอักเสบ
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
ผลต่อไต ถ้าใช้ร่วมกับ Aminoglycoside จะเพิ่ม ความเป็นพิษต่อไต
การแพ้ยา (Hypersensitivity)
Third – generation
มีผลออกฤทธิ์กว้างกว่า 2 กลุ่มแรก และ สามารถฆ่าเชื้อPseudomonas ได้ด้วย
Second – generation
เป็นยาที่มีฤทธิ์กว้างกว่ายารุ่นที่หนึ่ง สามารถฆ่า เชื้อกรัมลบได้มากชนิดกว่า และได้ผลดีกว่า
First – generation
เป็นยาที่มีประสิทธิภาพดีสาหรับเชื้อกรัมบวก
สามารถฆ่าเชื้อกรัมลบได้บางชนิดเช่น E.coli ,
Klebsiella pneumoniae
ประโยชน์ทางคลินิกของ
ไม่ควรเลือกใช้เป็นยาชนิดแรกในการรักษาการติดเชื้อทั่วไปที่ อาการไม่รุนแรง
จัดเป็นยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์กว้างมีประสิทธิภาพในการรักษา สูง
ควรระวังปฏิกิริยาระหว่างยาเหล่านี้กับแอลกอฮอล์ที่เรียกว่า Disulfiram–like reaction
3.Carbapenems
ยาตัวแรกในกล่มุ นี้คือ imipenem
เป็น ยาที่มีปร ะสิทธิภาพสูงและมีขอบเขตการทำลายเชื้อค่อนข้างกว้าง
ฆ่าเชื้อแกรมลบและแกรมบวกทั้งชนิดaerobicและanaerobic
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ความดันโลหิตลดลง หลอดเลือดดาบริเวณที่ฉีดอักเสบ ผิวหนังเป็นผื่น คัน และอักเสบ enzymes ตับเพิ่มขึ้น
ในเด็กและผู้ป่วยโรคไตต้องมีการปรับขนาดยา
1.Penicillins
ปฏิกิริยาท่ีไม่พึงประสงค์
มีไข้ หลอดลมหดตัว หลอดเลือดอักเสบ
serum sickness , exfoliative dermatitis
ผื่นลมพิษ (มีลกัษณะเป็น maculopapular rash)
Stevens-Johnson syndrome และ anaphylaxis
ประโยชน์ทางคลินิกของ
เลือกใช้เป็นอันดับแรกในหญิงมีครรภ์ แต่ควรระวังอาการข้างเคียง เช่น ผื่นคัน อุจจาระร่วง และเลือดไหลหยุดได้ยาก
ไม่ควรใช้penicillins ในผู้ป่วยที่มีประวัติการแพ้ยา กลุ่ม Penicillins
เป็นยาที่เลือกใช้เป็นอันดับแรก เพื่อรักษาโรคติดเชื้อกรัมบวกและกรัมลบ
4.Monobactams
ยาในกลุ่มนี้คือ astreonam ได้รับการสังเคราะห์มาเพื่อให้มีความคงทนต่อการ ทำลายของ -lactamase
ข้อบ่งใช้
ใชร้ักษาโรคติดเชื้อแกรมnegativebacilliชนิด anaerobic
ในบริเวณทางเดิน หายใจ, ทางเดินปัสสาวะ, อวัยวะเพศ, กระดูกและข้อกระดูก, soft tissue และใน กระแสเลือด
อาจใช้ได้ผลในการรักษาโรคติดเชื้อ P. aeruginosa ที่ดื้ออต่อยา piperacillin หรือ tobramycin
อาการไม่พึงประสงค์
เส้นเลือดดำบริเวณฉีดยาซำ้ๆ อักเสบ ผื่นคัน ท้องเสีย
5.Polymyxins : Polymixin B , Polymixin E
ยากลุ่มนี้มีพิษต่อร่างกายสูงที่สุด
ถ้าให้ทางปากจะมีประโยชน์ในการรักษาลาไส้อักเสบและท้องเดินจากเชื้อ แบคทีเรีย
อาการไม่พึงประสงค์
ทำให้กล้ามเนื้อหายใจหยุดทางาน โดยเฉพาะการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
มีพิษ ต่อระบบประสาท ทาให้ชารอบๆปาก และอาจมีอาการเดินโซเซ
เกิดอาการแพ้ยา
เป็นพิษ ต่อไตสูงมาก อาจทาให้ไตพิการอย่างถาวรได้
6.Aminoglycoside
เป็นยากลุ่มที่มีขอบเขตในการต้านจุลชีพค่อนข้างกว้าง
ทำลายเชื้อวัณโรคได้ด้วย
ยาในกลุ่มนี้
Kanamycin, Amikacin
Gentamicin, tobramycin
Streptomycin, Neomycin, sisomicin
อาการไม่พึงประสงค์
พิษต่อหู มีอาการวิงเวียน ศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง และหูหนวกได้
ยับยั้งการสื่อประสาทระหว่างปลายเส้นประสาทกับกล้ามเนื้อลาย
พิษต่อไต มีฤทธิ์ทำลายกรวยไต และท่อไต
การแพ้ยา เป็นผื่นแดง หรือลมพิษคัน มีไข้ บางรายอาจถึงขั้น anaphylaxis
7.Chloramphenicol
เป็นยายับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่มีฤทธิ์กว้าง
ได้ผลทั้งเชื้อกรัมบวก และกรัมลบ
อาการไม่พึงประสงค์
กดการสร้างเม็ดเลือดแดง ทาให้ผู้ป่วยมีอาการซีด
กดการทำงานของไขกระดูก ทาให้เกิด aplastic anemia
การแพ้ยาเป็นผื่นคันมีไข้
8.Tetracycline
เป็นยายับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่มีฤทธิ์กว้าง
ได้ผลทั้งเชื้อกรัมบวก และกรัมลบ หลายชนิด
อาการไม่พึงประสงค์
ระคายเคืองทางเดินอาหาร มีอาการจุก เสียด แน่นท้อง คลื่นไส้ และอาเจียน
รบกวนการสร้างกระดูกและฟัน
พิษต่อตับ ทาให้เกิด fatty liver
การแพ้ยา โดยเกิดผื่นคัน เกิดอาการทาง ผิวหนังได้ง่ายเวลาโดยแสง
9.Macrolides
เป็นยายับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
เหมาะสำหรับใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา
penicillin มาก่อน
อาการไม่พึงประสงค์
Cholesstatic hepatitis เกิดเมื่อใช้ erythomycin estolate
ระคายเคืองทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
การแพ้ยา-อาการท่ีเกิดไม่รุนแรง มีไข้ ผื่นแดงนูน
'
10.Sulphonamide
ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ทั้งกรัมบวก และกรัมลบ
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปวดศีรษะ และเวียน ศีรษะ
Norfloxacin , Ofloxacin , Ciprofloxacin
11.Fluoroquinolones
ยารักษาวัณโรค
ยาที่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรค
(Bactericidalactivity)
Streptomycin
ขนาดและวิธีใช้
ใช้ขนาด15มก./กก.หรือโดยทั่วไปให้ขนาด1กรัม/วันโดยฉีดครั้งเดียว
สำหรับผู้ใหญ่ที่น้ำหนักตัวต่ำกว่า 50 กก. ให้ขนาด 0.75 กรัมก็เพียงพอ ใน เด็กใช้ขนาด 20 – 30 มก./กก.
อาการไม่พึงประสงค์
พิษต่อไต (nephrotoxicity)
พิษต่อระบบประสาท (neurotoxicity)
ชาตามปลายมือปลายเท้า หน้า ปวดศีรษะ อ่อนแรง ตาพร่า
ให้ในขนาดสูงจะกดการทางานของกล้ามเนื้อลาย ทำให้กดการหายใจ ทำให้หัวใจหยุดเต้นได้
พิษต่อหู (Ototoxicity)
ทำให้มีอาการหน้ามืด วิงเวียนคลื่นไส้อาเจียน
เสียสมดุลย์ในการทรงตัวถ้ามีอาการและให้ต่อไปอีก จะเสียอย่างถาวรและหูหนวก
ทำลายระบบควบคุมการทรงตัว (Vestibular system)
Pyrazinamide
อาการไม่พึงประสงค์
เนื่องจากยานี้ขัดขวางการขับกรดยูริคออกทางปัสสาวะ
จึงพบว่าทาให้ระดับกรดยูริคในเลือดสูงขึ้น
ตับอักเสบรุนแรง
ปวดข้อ ปวดศีรษะ แพ้แสงแดด ลมพิษ ผื่นขึ้น ตับโต
Rifampicin
อาการไมพึงประสงค์
ตับอักเสบ
คนท่ีดื่มเหล้าเป็นประจำหรือคนท่ีมีโรคตับอยู่แล้ว
การใช้ยาร่วมกับ isoniazid
โดยเฉพาะในคนท่ีอายุมาก
ขนาดและวิธีใช้
เด็กให้ขนาด 10–20 มก./กก.
ระยะหลังมีผู้แนะนาว่าการใช้ยาในขนาด 450 มก./วัน
ขนาดที่เหมาะสมในผู้ป่วยทั่วไปคือวันละ 600 มก.
ผู้ป่วยที่น้าหนักไม่เกิน 50 กก. ก็ได้ผลดี
ข้อควรระวัง
ในผู้ป่วยโรคตับ หญิงมีครรภ์ หญิงให้นมบุตร
Ethionamide
อาการไม่พึงประสงค์
ปวดศีรษะ มึนงง สับสน ประสาทหลอน ชาตามปลาย นิ้ว
เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ผื่นคัน ปวดข้อ มีไข้
ทำให้ตามัว มองเห็นไม่ชัด ตาบอดสี
ขนาดและวิธีใช้
โดยทั่วไปให้ขนาด 15–20 มก./กก.
อาจให้สูงถึง 25 มก./กก. ใน 2 เดือนแรก แล้วลดลง เหลือ 15 มก./กก.
Isoniazid
อาการไม่พึงประสงค์
การใช้ยานี้รักษานานๆมักมีผลต่อตับ
จะพบว่ามีไข้ ผื่นขึ้น ตามผิวหนัง คนที่แพ้มากๆ
มีพิษโดยตรงต่อระบบประสาททั้งส่วนกลางและปลาย
ชาตามปลายมือ
ประสาทตาอักเสบ
มีอาการบวมร่วมด้วย
ขนาดและวิธีใช้
โดยทั่วไปใช้ขนาด300มก./วันให้ครั้งเดียว
ยกเว้นกรณีที่ให้ยาแบบเว้นระยะต้องให้สูงถึง 900 มก./วัน
ผู้ใหญ่ใช้ขนาด 5 ถึง 8 มก./กก.
ในเด็กให้ขนาด 10 – 20 มก./วัน แต่ไม่เกิน 300 มก./วัน
ยากลุ่มน้ีมีบทบาทสำคัญท่ีจะย่นระยะเวลาในการรักษาวัณโรคให้สั้นลง
2.ยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อวัณโรค (Bacteriostatic activity)
Cycloserine
Ethambutol
อาการไม่พึงประสงค์
nausea , vomiting , vertigo
ขนาดและวิธีใช้
ใช้ขนาด 750 – 1000 มก./วัน
ถ้าขนาดยาต่ากว่า 750 มก. ผลการรักษาจะไม่ดี
.Ethionamide
มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรคค่อนข้างสูง
เมื่อใช้ร่วมกับยากล่มุแรกเป็นเวลานานพอ
Thiacetazone
อาการไม่พึงประสงค์
conjunctivitis , vertigo
ถ้ารุนแรง erythema multiform , haemolytic anaemia ,
agranulocytosis , cerebral oedema , hepatitis
ขนาดและวิธีใช้
150 มก./วัน + INH 300 มก./วัน
สามารถทำให้โรคหายขาดได้เช่นกัน
Para aminosalicylic acid , PAS
อาการไม่พึงประสงค์
nausea , vomiting , เสียดแน่นท้อง ท้องดิน
ขนาดและวิธีใช้
ขนาดไม่น้อยกว่า 8 – 9 กรัม/วัน แบ่งให้วันละ 2 – 3 ครั้ง
Antiprozoals
ยาที่ใช้ในโรคติดเชื้อโปรโตซัว
Metronidazole
เป็นยาในกลุ่ม nitroimidazloes ได้แก่ Tinidazole, ornidazole
ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์
ปวดหัว วิงเวียน อารมณ์แปรปรวน เดินเซ ปลายประสาทอักเสบ ชัก
คลื่นไส้อาเจียน ปากแห้ง รู้สึกมีรสโลหะในปาก เบื่ออาหาร ปวด ท้อง ตับอ่อนอักเสบ
เมื่อดื่มสุรา มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว หน้าแดง ปวดท้อง และอาจรู้สึกว่า รสชาดของสุราที่ดื่มผิดไปเมื่อใช้ยา
ประโยชน์ทางการแพทย์
รับประทาน 2 กรัม ครั้งเดียว หรือ 250 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง 7 วัน ควรรักษาพร้อมกันทั้งตัวผู้ป่วยและผู้มีเพศสัมพันธ์ด้วยแมจ้ะไม่มี อาการ
รับประทาน 250 มิลลิกรัม วันละ 3 คร้งั 5-7 วัน หรือวันละ 2 กรัม
เป็นเวลา 3 วัน
รับประทาน250มิลลิกรัมวันละ3คร้งัเป็นเวลา7-10วัน
ยากำจัดพยาธิ(Antihelmintics)
ยาขับพยาธิตัวกลมในลำไส้
Pyrantel pamoate (Combantrin)
อาการไม่พึงประสงค์
เกิดชั่วคราวอาจมีอาการปวดศีรษะ วิงเวียน ไข้ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียนปวดท้องท้องเดิน
ฤทธิต่อพยาธิ
ยามีฤทธิ์ต่อพยาธิปากขอไส้เดือน เส้นด้าย
รปูแบบ
ยาเม็ด 125 mg น้าแขวนตะกอน 250 mg/5 ml
ข้อควรระวัง
ไม่ควรใช้ยาพร้อมกับPiperazineเพราะมีฤทธิ์ตรงข้ามกัน
หเามใช้ในสตรีมีครรภ์และเด็กอายุต่ำกว่า 2 ขวบ
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้ง neuromusculartransmission
ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ Cholinesterase
ขนาดยาและวิธีใช้
ในการรักษาพยาธิไส้เดือนเส้นด้าย รับประทาน 10 mg/Kg ครั้งเดียว (ไมเ่กิน 1 g)
พยาธิปากขอ 20 mg/Kg 2 วัน
Thiabendazole
ขนาดและวิธีใช้
พยาธิสตรองจิลอยด์
รับประทานครั้งละ 2.5 mg/Kg วันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน (สูงสุด ไม่เกิน 1.5 g) ซึ่งยาในขนาดนี้ จะขับพยาธิไส้เดือน แส้ม้า และ ปากขอ
ฤทธิ์และอาการไม่พงึประสงค์
ไม่ควรใช้ในเด็กที่มีน้ำหนักนอ้ยกว่า15 กก.
ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยโรคตับและโรคไต
ปวดศรีษะง่วงนอนซึม
มึนงงคลื่นไส้อาเจียนปวดท้องเบื่อ
อาหาร ท้องเดิน
ประโยชน์ที่ใช้
ยาน้ีมีฤทธิขบัพยาธิไส้เดือนกลม พยาธิเส้นด้าย พยาธิแสม้า
รูปแบบ
ชนิดเม็ดเดียว ขนาด 500 มก.
กลไกการออกฤทธ์ิ
ยามีผลต่อพยาธิตวัแก่ตัวอ่อนและป้องกันการเจริญของไข่
ยับยั้งการสร้าฝmicrotubuleและขัดขวางการนากลูโคสจากhostมาใช้
มีฤทธิ์ยับยั้งenzyme fumarate reductase ใน mitochondria ของพยาธิ
Albendazole
กลไกการออกฤทธิ์
ปริมาณ glycogen ที่สะสมไว้ลดลง
พยาธิหยุดการเคลื่อนไหวและตาย
ยับยั้ง การนากลูโคสจาก host มาใช้
ขนาดและวิธีใช้
พยาธิไส้เดือนกลม พยาธิ เส้นด้าย พยาธิแส้ม้า และ พยาธิปากขอ รับประทานครั้งเดียว400มก.
พยาธิสตรองจิย์ลอยด์ รับประทาน400มก.เชา้และ เย็นติดต่อกันเป็นเวลา 3-7 วัน และถ้าให้ยาซ้าอกี หนึ่งชุดในเวลา 7 วัน ต่อมา
ผู้ใหญ่และเด็กอายุเกิน2ปีใช้ขนาดเท่ากัน
ประโยชน์ที่ใช้
ยานี้มีประสิทธิภาพคล้ายมีเบนดาโซล
แต่ได้ผลดีในการรักษาโรคพยาธิสต รองจิย์ลอยด์ด้วย
อาการไม่พึงประสงค์
ไม่ควรใช้ในหญิงมีครรภ์
ปวดศีรษะคลื่นไส้ปวดทอ้งและท้องเดิน
ควรระมัดระวังเป็นพิเศษในเดก็ เล็ก เพราะไม่เคยมีการทดลองใช้ในเดก็ อายุต่า กว่า 2 ปี
รูปแบบของยา
เม็ดสาหรบัเคี้ยวขนาด200มก.
ยานาแขวนตะกอน ขนาด 100 มก./5 มล.
Piperazine citrate
ขนาดและวิธีใช้
พยาธิไส้เดือนกลม
ให้คร้ังเดียวประมาณ 75มก./กก. ไม่เกิน 3.5 กรัม
มักให้ก่อนนอนติดต่อกัน2วัน
พยาธิเส้นด้าย
ให้รับประทานคร้ังเดียวประมาณ 65มก./ กก. ไม่เกิน 2.5 กรัม
มักให้ตอนเช้าติดต่อกันนาน 7 วัน
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งฤทธ์ิของ acetylcholine ท่ีกล้ามเน้ือ
ของพยาธิ
ทำให้พยาธิเป็นอัมพาตแบบอ่อนเปลี้ย
และถูกขับออกจากทางเดินอาหารโดยการ
บีบตัวของลาไส้
ประโยชน์ท่ีใช้
ยาน้ีมีฤทธ์ิขับพยาธิไส้เดือนกลม และ
พยาธิเส้นด้าย
อาการไม่พึงประสงค์
ความรู้สึกทางประสาทสัมผัสผิดปกติ
คลื่นไส้อาเจียนปวดท้องท้องเดิน
ลมพิษ กล้ามเน้ือกระตุก
ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยโรคตับ โรคไต
รูปแบบของยา
มีชื่อการค้า เช่น Upixon
ยาน้ำเชื่อม หรือ Elixir Piperazine hydrate 500 มก./5 มล.
ยาเม็ด Piperazine hydrate 500 มก.
Mebendazole
ประโยชน์ที่ใช้
ยานีมีฤทธิ์ขับพยาธิไส้เดือนพยาธิ เส้นด้ายพยาธิแส้ม้าพยาธิปากขอ
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยงั้การสังเคราะห์microtubuleใน
เซลผวิหนังและลาไส้ของพยาธิตัวกลม
เป็นอัมพาตและตาย
ถูกกาจัดออกจากทางเดนิ อาหารจนหมด หลังการรับยาประมาณ 3 วัน
ขนาดและวิธีใช้
พยาธิไส้เดือน พยาธิปากขอและพยาธิ แส้ม้า รับประทานครั้งละ 100 มก. เช้าและ เย็นติต่อกันเป็นเวลา 3 วัน
พยาธิแคปิลลาเรีย รับประทานครั้งละ200มก.เช้าและ เย็นติดต่อกันเป็นเวลา 3-4 สัปดาห์
พยาธิเส้นด้าย รับประทานครั้งเดียว100มก.
รูปแบบของยา
ยาน้ำแขวนตะกอน ขนาด 100 มก./5 มล.
ชื่อการค้า เช่น Danaben , Fugacar
เม็ดสาหรับเคี้ยวขนาด 100 มก.
อาการไม่พึงประสงค์
ปวดท้อง ท้องเดินไม่ควรใช้ในหญิงมีครรภ์
ยาขับพยาธิตัวตืด
Niclosamide
ข้อควรระวังในการใช้ยาและข้อห้ามใช้
ควรงดดื่มแอลกอฮอล์ ในวันที่รับประทานยา และหลังจากนั้นอีก 1 วัน
ยาไม่มีผลต่อไข่ของพยาธิ
ฤทธิ์และอาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้
ปวดท้อง
มึนงง
แต่ไม่รุนแรงและเกิดขึ้นชั่วคราว
กลไกการออกฤทธิ์
บางส่วนถูกย่อยสลาย ไม่สามารถที่จะบอกชนิดของตัวตืดได้
พยาธิถูกขับออกโดยการบีบตัวของลำไส้
ยับยั้งการนาเอากลูโคสจาก host มาใช้
รูปแบบของยา
Yomesan ชนิด เม็ดสำหรับเคี้ยวขนาด 500 มก.
ประโยชน์ที่ใช้
เป็นยาอันดับแรกในการรักษาโรคพยาธิตัวตืด เกือบทุกชนิด
ยานี้มีฤทธิ์ขับพยาธิตืดวัวพยาธิตืดหมูและพยาธิตืดแคระ
ขนาดและวิธีใช้
ต้องเคี้ยวหรือบดให้ละเอียด
เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปีให้ 1 เม็ด
รับประทานครั้งเดียวตอนเช้าและเวลาท้องว่าง
อายุ 2-6 ปีให้ 2 เม็ด
อายุเกิน 6ปีและผู้ใหญ่ให้4เม็ด
ยาขับพยาธิใบไม้
มะเกลือ Diospyros mollis
ประโยชน์ที่ใช้
ขับพยาธิปากขอได้ดีมากพยาธิไส้เดือนกลมพยาธิแส้ม้าพยาธิเส้นด้ายพยาธิใบไม้
ลำไส้และพยาธิตัวตืด
ฤทธิ์และอาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้อาเจียนท้องเดิน
พิษต่อตาจนถึงตามัวและบอดได้
ขนาดและวิธีใช้
ให้คั้นผลมะเกลือสด
รับประทานเวลาท้องว่างอาจเป็นเวลาเช้ามืดและงดอาหารเช้า
เตรียมจากมะเกลือในขนาด1ผลต่ออายุ1ปีแต่ไม่กิน25ผลหรือให้สาร สกัดมะเกลือขนาด50มก./กก
ปวกหาด Artocarpus lakoocha
รูปแบบของยา
ผงปวกหาดได้จากการเคี่ยวแก่นมะหาดกับน้ำจนเกิดฟองแล้วช้อนฟองขึ้นมาทิเงให้แห้ง
ขนาดและวิธีใช้
มีการทดลองใช้แต่ในผู้ใหญ่ให้งดอาหารเช้าและให้ผงปวกหาด3กรัม
หรือสารสกัดผงประมาณ2กรัมรับประทานกับน้ำเย็น2ชม.ต่อมาให้รับประทาน ยาถ่าย
ฤทธิ์และอาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้อาเจียนถ้าเป็นสารสกัดจะมีผลข้างเคียงน้อยลง
Praziquantel (Biltricide)
ขนาดและวิธีใช้
ไม่ควรเคี้ยวควรกลืนทั้งเม็ดพร้อมอาหาร
อาการไม่พึงประสงค์
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ ปวดท้อง ท้องเดิน
อ่อนเพลียปวดศรีษะปวดหลังปวดกล้ามเนื้อมึนงงง่วงนอน
รูปแบบของยา
ชื่อการค้า Briticide ® ชนิดเม็ดขนาด 600 มก
ยารักษาเชื้อรา
ชนิดที่ใช้ทาภายนอก(Topical)
Whitfield’s ointment
Benzoicacidมีฤทธิ์เป็นFungistatic
มักจะใช้ในการรักษา Tinea pedis
Tolnaftate
ใช้รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อ Dermatophyte
ใช้รักษา Candida ไม่ได้ผล
ใช้รักษา Tinea pedis ได้ผลประมาณ 80%
Fugicid , Ezon-T , Tinaderm
Ciclopirox olamine
หยุดการเจริญเติบโตของPityrosporumorbiculare(M.furfur)ได้
มีใช้ในรูปของ1%Creamเช่นBatrafen
ออกฤทธิ์กว้างมีฤทธิ์เป็นFungicidalต่อเชื้อCandidaalbicans
Imidazoles
มีผลต่อแบคทีเรียและโปรโตซัวบางอย่าง
Clotrimazole, econazole และ Miconazole
ออกฤทธ์ิกว้าง
Sodium Thiosulphate
โดยใช้ความเข้มข้น 10% ในน้ำล้างเท้า Sodium thiosu lphate
ใช้รักษาเกลือนด้วยความเข้มข้ร 20% ใช้ป้องกันเชื้อราที่เท้าในบริเวณสระ น้ำ
เป็นสารที่ไม่มีพิษ ถ้ารับประทานเข้าไปมากๆ
มีฤทธิ์เป็นยาระบาย
Selenium Sulphide
ดูดซึมได้ถ้าผิวหนังอักเสบหรือเป็นแผล
ใช้สระผมรักษารังแคที่ศีรษะ และใช้ทารักษาโรค
เกลื้อนได้
มีอาการเบื่ออาหาร อาเจียน ซีด และตับเสียได้
ชนิดสำหรับใช้รับประทาน(Systemic)
Nystatin
ยาถูกดูดซึมได้น้อยมากจากทางเดินอาหาร
จึงใช้เป็นยารับประทานรักษาเชื่อ Candida ในทาง เดินอาหาร
Griseofulvin
ฤทธิ์และอาการไม่พึ่งประสงค์
อ่อนเพลียวิงเวียนศีรษะคลื่นไส้อาเจียนท้องเดินปากแห้ง
เป็นพิษต่อตับ
ปวดศีรษะ
ยานี้มีใช้ในรูปของยาเม็ดขนาด125,250และ500มก.
Ketoconazole
รักษา Dermatophytes,Candidal
ฤทธิ์และอาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ และอาเจียน
ปวดศีรษะ ปวดท้อง
เลือดออกตามไรฟัน
อาการกลัวแสง
ยาเม็ด ขนาด 200 มก.
ใช้ยาขนาด 200 มก. ต่อวัน
Itraconazole (sporal)
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องอืด
และปวดศีรษะ
ขนาดของยาที่ใช้100-200มก. ต่อวัน
ขึ้นอยู่กับชนิดของการติดเชื้อ
Fluoconazole (Diflucan)
ขนาดที่ใช้ในการรักษาและระยะเวลาในการรักษา
ขึ้นอยู่ กับชนิดของเชื้อรา
ยาแคปซูล ขนาด 50 และ 150 มก.
ใช้ได้ดีกับการรักษาการติดเชือราในผู้ป่วยโรคเอดส์
ยาทาความเข้มข้น2มก./มล.
Amphotericin B
อาการไม่พึงประสงค์
ไข้ หนาวสั่น ความดันเลือดต่ำ
หอบเหนื่อย
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดตามตัว ปวดศีรษะ
ยานี้มีอันตรายในการใช้ค่อนข้างสูง
มีเฉพาะในรูปของยาฉีดขนาด 50 มก./มล.
ความสามารถในการซึมผ่านของของเหลวผ่านเซลล์เพิ่มขึ้น
ยาต้านไวรัส
(Antiviral drugs)
Acyclovir
อาการไม่พึงประสงค์
อาจมีผลต่อการท้างานของตับไต อาการคลื่นไส้อาเจียนปวดท้อง ท้องเดิน
รูปแบบยาขนาดและวิธีการใช้
ขี้ผึงป้ายตาขนาด 3 %
ใช้ป้ายตาทุก 4 ชั่วโมง จนอาการทุเลา และควรป้ายตาต่ออีก 1 สัปดาห์ ใช้เวลา ประมาณ 15 วัน
ยาเม็ด 200 และ 400 มก.
ใช้ในรายที่ติดเชื้อเริ่มแสดงอาการครั้งแรกนานไม่เกิน 5 วัน ให้ 200 มก. วันล ะ 5 ครั ง เป็น เวลา 5 – 10 วัน
เป็นยารักษาโรคติดเชื้อเฮอร์พีสที่ดีที่สุดตัวหนึ่ง
โดยเฉพาะไวรัสเริม และ อีสุกอีใส – งูสวัด
Vibarabin ( Ara-A , Adrenosine arabinoside )
ในรายที่เป็นแผลที่กระจกตา รายที่มีการติดเชื้อทั่วตัว ซึ่งมีอาการรุนแรงโดยเฉพาะในทารกแรกเกิด และ ผู้ป่วยที่มีระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง
อาการไม่พึงประสงค์
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน และ อ่อนเพลีย ยานี้กด การทำงานของไขกระดูก
Idoxuridine ( IDU )
อาการไม่พึงประสงค์
ทำให้เกิดการอักเสบ เมื่อใช้หยดหรือป้ายตา มีอาการบวมแดง คัน แสบ
รูปแบบ ขนาดและวิธีใช้ยา
0.5 % ชนิดป้ายตาทุก 4 ชั่วโมง ใน เวลากลางวัน และป้าย 1 ครั้งก่อน นอน และ ควรใช้ยาป้ายตาต่อไปอีก 3 – 5 วัน หลังจากที่แผลหายแล้ว
เป็นยาตัวแรกที่ให้ผลดีในการรักษาการอักเสบ และ แผลที่กระจก ตา ซึ่งเกิดจากเชื้อเฮอร์พีส
Amantadine , Rimantadine และ Tromantadine
กลไกการออกฤทธิ์
ยาจะยับยั้ง การเข้าสู่เซลล์ของไวรัส โดยขัดขวางการเกาะติด ของไวรัส
ยานีจะใช้ได้ผลต่อเมื่อหลังจากติดเชื้อไวรัสแล้วไม่
เกิน 72 ชั่วโมง
ฤทธิ์ และ อาการไม่พึงประสงค์
นอนไม่หลับ ตามัว ตาพร่า ซึมเศรเา มือสั่น บางรายมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปากแห้ง ปัสสาวะบ่อย
รูปแบบขนาดและวิธีให้ยา
ชนิดแคปซูล 100 มก. และ ชนิดน้ำเชื่อม 50 มก./5มล.
ผู้ใหญ่ให้ 100 มก.วันละ 2 ครัง เด็กอายุ 1-9 ปีให้ 2-4 มก./กก./วัน แบ่งให้ 2-3 ครั้ง ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 150 ม ก.
Interferon ( IFN )
เป็นโปรตีนที่เซลล์ที่ติดเชื้อไวรัสสังเคราะห์ขึ้น
มีฤทธิ์ป้องกันไม่ให้เซลล์ที่ยังไม่ติด เชื้อไวรัสติดเชื้อไวรัส
อาการไม่พึงประสงค์
มีอาการไข้ หนาวสั่น ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย ปวด
กล้ามเนื้อ ปวดข้อ เบื่อ อาหา ร
สามารถใช้ยาพาราเซตามอล ลดไข้ได้ อาการจะทุเลาลงเมื่อหยุดใช้ยา
ยาต้านไวรัสเอสไอวี
ANTI-HIV
Reverse transcriptase inhibitors
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง
DNAโดยยับยั้งเอนไซม์ reverse transcriptase
ยาเหล่านี ถูกดูดซึมไ ด้ดีจากท างเดิน อาหาร
การใช้ยาเหล่านี้เดี่ยวๆ เชื้อจะดื้อยาได้ง่าย
อาการไม่พึงประสงค์ที่อาจพบ
ยาบางชนิดทำลายไขกระดูกหรือทำให้ปลายประสาทอักเสบ
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะและเป็นพิษต่อตับ
ตับอ่อนอักเสบ
Protease inhibitors
แต่จะให้ผลการรักษาดีขึ้นถ้าใช้ ร่วมกับยายับยั้งเอนไซม์ Reverse transcriptase
ยาเหล่านี้ส่วนใหญ่ถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารได้ดี
ให้ประสิทธิผลสูงกว่าการใช้ยาร่วมกันเพียง 2 ชนิด
อาการไม่พึงประสงค์ที่อาจพบ
คลื่นไส้อาเจียนท้องเดินและอ่อนเพลีย
ยาบางชนิดอาจทำให้ปวดศีรษะและปลาย
ประสาทอักเสบ
ยาต้านมาลาเรีย (Antimalarial drugs)
Quinine Sulfate และ Quinine Dihydrochloride
กลไกการออกฤทธ์ิ
ยาสามารถจับกับ DNA ทำให้ไม่มีการสร้างโปรตีน
ประโยชน์ที่ใช้ในการรักษา
จะใช้ได้ผล ดีในการ รักษา เชื่อ P.f ซึ่งดื้อต่อยา Chlo roquine
Quinine ยังเป็นยา first choice ในผู้ป่วยซึ่ง เป็นมาลาเรียจากเชื้อ P. f ระยะเฉียบพลัน รุนแรง ซึ่งอาจจะมีอาการทางสมองด้วย
อํากํารไม่พึงประสงค์
ปวดศีรษะหูอือ ตาพร่า คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
อาการแพ้
หอบ ลมพิษ(เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด)
Chloroquine Phosphate, Chloroquine Hydrochloride
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง DNA และ RNA
อาการไม่พึงประสงค์
มองเห็นไม่ชัด เห็นภาพหลอน ตื่นเต้น และเส้นประสาทส่วนปลาย ผิดปกติ
ในหญิงมีครรภ์ที่ได้รับยานี้เด็กที่เกิดมาอาจจะหูหนวกสมองเสื่อม (mental retardation)
มึนงงเบื่ออาหารท้องเดินปวดศรีษะมีผื่นคัน
Primaquine Sulfate
ประโยชน์ที่ใช้ในการรักษา
ป้องกันการเกิดไข้กลับ
สามารถรักษา มาลาเรียที่เกิดจากเชื้อ P.v, P.o ได้หายขาด
ใช้ป้องกันการแพร่กระจายของ เชื้อมาลาเรีย
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ปวดศีรษะมีผื่นคันการปรับสายตาเพื่อมองภาพไม่ชัดเจน
ปวดท้องเกร็ง (abdominal cramp)
Mefloquine
กลไกกํารออกฤทธ์ิ
ไม่ได้จับกับDNA
สามารถรักษามาลาเรียจาก P. falciparum
ประโยชน์ที่ใช้ในการรักษา
ข้อเสียของ ยาตัวนี้คือออกฤทธิ์ช้าทำให้อัตราการ ลดลง ของเชื้อในเลือดช้าด้วย
ปัจจุบันมีการ ใช้ Mefloquine ร่วมกับ Pyrimetha mine เพื่อลดการดืเอยา และเพิ่ม ประสิทธิภาพของยา
Antifolate
กลไกการออกฤทธ์ิ
เมื่อน้ำยา Sulfadoxine ผสมกับ Pyrimethamine ยา 2 ชนิด จะออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ DHFR คนละขั้นตอนกัน จึงเสริมฤทธิ์กัน
ใช้ในการรักษามาเลเรีย จากเชื้อที่ดื้อต่อยา Chloroquine
มีข้อสังเกตว่า Sulfonamide จะใช้ได้ผลกับเชือ P. falciparum เท่านั้นจะไม่ ได้ผลกับ P. vivax
Trimethoprim
Pyrimethamine
Fansidar (Sulfadoxine 500 มก.+ Pyrimethamine 25 มก.)
ยาปฎิชีวนะอื่นๆ
มักใช้ร่วมกับ Quinine ในการฆ่าเชื้อ P. falciparumที่ดื้อยา Chloroquine
Tetracyclines ชนิดที่ใช้มาก คือ Doxycycline
Tetracyclines มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อได้แต่ออกฤทธิ์ช้า
GINGHAOSU (ARTEMISININ)
นอกจากนี้ผลฆ่าเชื้ออมาเลเรียชนิดอื่นก็ได้ผลดี
ยาจะฆ่าเชื้อในเลือดเท่านั้นไม่มีผลต่อเชื้อในตับ
ยานีออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อ P. f ซึ่งดื้อต่อยา Chloro quine
ได้ผลดี
เนื่องจากยามีค่าครึ่งชีวิตสั้นมากจึงไม่มีผลต่อการป้องกัน การติดเชื้อ
สกัดมาจากสมุนไพรจีนจากต้น ชิงเฮา