Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด
กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิด(congenital heart disease
ชนิด
เขียว
เลือดไปปอดน้อย
Tetralogy of fallout
มีความผิดปกติ4อย่าง
การตีบของลิ้นพัลโมนารี
ผนังระหว่างเวนติเคิลมีรอยรั่ว
ตำแหน่งลิ้นAortic เลื่อนไปทางด้านขวา
มีการหนาตัวของ LV
อาการและอาการแสดง
เขียวทั่วร่างกาย/เขียวร่วมกับหอบ
นั่งยองๆ
เพิ่มแรงต้านทานเลือด>แรงดันLAเพิ่มขึ้น>เลือดไปปอดมากขึ้น
เหนื่อย
หัวใจวาย
Pulmonic atresia
Tricuspid atresia
เลือดไปปอดมาก
Transposition of great ateries
พบบ่อย สลับที่กันของหลอดเลือดแดงใหญ่ที่ออกจากหัวใจ
หลอดเลือดaortaออกจาก RV
หลอดเลือดpulmonary ออกจากLV
อาการและอาการแสดง
เขียวตั้งแต่แรกเกิด 2-3วันแรกหอบเหนื่อย อาการของหัวใจวาย
การพยาบาล
1.ซักประวัติ
-เขียวเป็นพักๆ
-นั่งยองๆตอนรู้สึกเหนื่อย
-ปวดศรีษะจากภาวะ cerebral hypoxemia
2.ตรวจร่างกาย
เขียวคล้ำทั่วร่างกาย
เลือดข้น
นิ้วมือนิ้วเท้าปุ้ม
ตาขาวแดง
นั่งยองๆ
ฝีในสมอง
สมองขาดออกซิเจนเฉียบพลัน
3.ประเมินภาวะจิตสังคม
ประเมินความวิตกังวลของบิดามารดาเกี่ยวกับสมองขาดเลือด,เขียวคล้ำทั่วร่างกาย
ไม่เขียว
เลือดไหลลัดจากหัวใจซีกซ้ายไปซีกขวา
Ventricular septal disease
มีรูรั่วระหว่าง LVกับRV
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยง่ายเวลาดูดนม
ตัวเล็ก พัฒนาการช้า
ติดเชื้อในระบบหายใจบ่อย
รูรั่ว
<3mm ไม่ผิดปกติ ปิดได้ภายใน1ปี
3-5mm
6mm ควรผ่าตัด
Atrial septal defect
มีรูรั่วระหว่างLAกับRA
อาการและอาการแสดง
ติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
เจริญเติบโตช้า
เหนื่อยง่ายเวลาออกกำลังกาย
Patent ductus ateriosus
หลอดเลือดductus ateriosus ยังเปิดอยู่ภายหลังเด็กเกิดทำให้ pulmonary กับaortaติดต่อกัน ปกติปิดภายหลังเกิด1-4สัปดาห์
สาเหตุ
เกิดก่อนกำหนด
ออกซิเจนในเลือดต่ำ
ติดเชื้อหัดเยอรมัน
อาการและอาการแสดง
หากขนาดใหญ่ หัวใจซีกซ้ายวาย หายใจเร็ว เหนื่อยหอบ เหงื่อออกมาก น้ำหนักขึ้นช้า
อุดกั้นการไหลของเลือด
Aortic stenosis
มีการตีบของลิ้น Aortic/อุดกั้นทางออกของVentricleซ้ายทำให้บีบตัวส่งเลือดแดงไปลิ้นaorticไปเลี้ยงร่างกายได้น้อย
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลียง่าย เจ็บหน้าอก
Pulmonary stenosis
มีการตีบของลิ้นpulmonary/อุดกั้นทางVentricleขวาทำให้บีบตีวส่งเลือดไปลิ้นpulmonary ที่ตีบ ไปปอดได้ไม่สะดวก
อาการและอาการแสดง
ภาวะหัวใจวาย
เขียวเล็กน้อย
เหนื่อยง่าย เจ็บหน้าอกเป็นมากตอนออกกำลังกายถึงขั้นหมดสติ
Coarctation of aorta
มีการตีบ/คอดที่หลอดเลือดAortaตรงบริเวณหลอดเลือดductus ateriosus มาเชื่อมกับหลอดเลือดaorta ทำให้เลือดไปเลี้ยงส่วนบนและลงเลี้ยงสู่ช่วงล่างได้ไม่สะดวก=ความดันของแขนสูงกว่าขา
อาการและอาการแสง
หายใจเร็ว เหนื่อยหอบ เหงื่อออก
ชีพจรที่ขาทั้ง2ข้างเบา
การพยาบาล
1.ซักประวัติ -ดูดนมแล้วเหนื่อย ตัวเล็ก พัฒนาการช้า
-ติดเชื้อระบบทางเดินหายใจบ่อย
-มีประวัติเป็นลมหน้ามืด
2.ตรวจร่างกาย
-เขียว
-หายใจเร็ว,ลำบาก,ใจเต้นเร็ว
-เหนื่อยง่ายเวลามีกิจกรรม
-เหงื่อออก
-บวม
-เป็นลม
-เจ็บบริเวณขาเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงส่วนล่างไม่พอ
3.ประเมินภาวะจิตสังคม
มารดาบิดา,เด็ก มีภาวะวิตกกังวล
กลุ่มโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง(acquired heart disease)
Infective endocarditis
การอักเสบเกิดจากการติดเชื้อเยื่อบุหัวใจชั้นในสุด/เยื่อบุผิวภายในหัวใจ/ลิ้นหัวใจ/เนื้อเยื่อข้างเคียง/หลอดเลือดแดงของหัวใจ
สาเหตุ
แบคทีเรีย(streptococcus viridans,staphylococcus aureus) เชื้อรา ริคเกทเซีย ไวรัส
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำๆ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เสียงฟู่ การตายของสมอง ม้ามโต ซีด
การรักษา
ให้ยาantibiotic ทางIV
ติดตามเจาะเลือด
ตรวจสอบหาแหล่งของการติดเชื้อเช่นฟัน ทางเดินปัสสาวะ
การป้องกัน
ห้ามในยาปฏิชีวนะก่อนและหลังทำหัตถกาาจะเสี่ยงติดเชื้อในกระแสโลหิตเพิ่มขึ้นเช่น ทำฟัน เจาะเลือด
การพยาบาล
1.ซักประวัติแกล่งติดเชื้อ อาการแสดง
2.ตรวจร่างกายพบเสียงฟู่ของหัวใจ
ประเมินภาวะจิตสังคม
4.ผลตรวจESRสูง WBCสูง ปัสสาวะมีเลือดปน
Rheumatic heart disease
เกิดตามหลังไข้รูมาติคทำให้เกิดการอักเสบของหัวใจ ส่งผลหัวใจวายตลอดจนลิ้นหัวใจรั่ว/ตีบ
สาเหตุ
1.ความผิดปกติของหัวใจที่ทำให้หัวใจทำงานหนักมากขึ้นเนื่องจากปริมาณเลือดในหัวใจเพิ่มขึ้น
2.ความผิดปกติของหัวใจที่ทำให้หัวใจทำงานหนักมากขึ้นเนื่องจากมีความดันในเวนติเคิลสูงกว่าปกติ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
หัวใจซีกซ้ายวาย หายใจเร็วปีกจมูกบาน หน้าอกบุ๋ม ฟังเสียงcrepitation
หัวใจซีกขวาวาย หลอดเลือดดำโป่งพอง หน้าบวม ตาบวม ตับโต ม้ามโต คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง แขนขาเย็น
การรักษา
lanoxin
เพิ่มแรงดันในการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจทำให้หัวใจเต้นช้าลง ส่งผลให้cardiac output เพิ่มขึ้น เลือดไหเลี้ยงมากขึ้นคือลดการคั่งของเลือดในหอดเลือดฝอย
เพิ่มการขับปัสสาวะออกจากร่างกาย
การพยาบาล
1.ประเมินภาวะสุขภาพ
ซักประวัติ
ติดเชื้อบ่อยเช่น ปอดอักเสบ
เหนื่อยง่าย
โตช้า น้ำหนักน้อย
เหงื่อออกมาก
ปัสสาวะน้อย
ใจเต้นเร็ว หายใจแรง
ชีพจรเบาเร็ว
ซีด เขียว มือเท้าเย็น
ความดันสูง
เสียงฟู่
Kawasaki disease
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ริกเกทเซียที่กระตุ้นให้ตอบสนองทางอินมูนผิดปกติ
พยาธิสภาพ
อักเสบของผนังหลอดเลือดแดงโคโรนารีและหลอดเลือดแดงขนาดกลางอื่นๆและมีplatelet thrombi อุดหลอดเลือดแดง
อาการและอาการแสดง
ไข้ ตาแดง ปากแดง มือแดง ผื่น ต่อมน้ำเหลืองโต
ผลการตรวจทา
ห้องปฏิบัติการ
WBCเพิ่มขึ้น เกล็ดเลือดสูง เลือดจาง ESR
C-reactive protein สูง ระดับtransminaseและ bilirubinในserumสูง
การพยาบาล
1.ประเมินการทำงานของหัวใจ ปอด หลอดเลือดที่เกี่ยวข้อง การเต้นของหัวใจ เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก
2.ประเมินการไหลเวียนเลือดแขนขาสำคัญอย่างยิ่งในระยะเฉียบพลันเมื่อthrombiไหลไม่สะดวกจึงเกิดการติดเชื้อและnecrosisของนิ้วมือนิ้วเท้า
3.วัดV/S โดยเฉพาะให้ gramma globulin สังเกตการแพ้คือไข้สูง
ดูปฏิกิริยาข้างเคียงของยา
5.ตวงและบันทึกน้ำดื่ม ปัสสาวะในรอบ24ชม.ระวังการขาดน้ำ
6.หัวใจวาย ให้ลดเค็ม
7.ชั่งน้ำหนักทุกวันดูอาการบวม
8.ลดความวิตกกังวล
9.การได้รับวัคซีนป้องกันโรคภายหลังได้รับgramma globulin3เดือนเพราะร่างกายอาจไม่สร้างภูมิคุ้มกัน