Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบเเละเเนวทางการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร, ลักษณะของระบบ T & V,…
รูปแบบเเละเเนวทางการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามวิธีการทำงาน
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบการบริหารจัดการเบ็ดเสร็จ (ตามเเนวคิดเเบบ one-stop service)
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบการมีส่วนร่วม
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบผสมผสาน
ศึกษาลักษณะการทำงาน
ออกแบบรูปผสมผสานในเเต่ละพื้นที่
การประเมินผล เพื่อใช้ในพื้นที่ใหม่
ศึกษาสภาพพื้นที่
รูปแบบเเละแนวทางการส่งเสริมและพัฒนการเกษตรแบบการฝึกอบรมและเยี่ยมเยียน ( Traning and visiting : T & V)
Visting
จ-ประชุม
อ-งานเน้นหนัก
พ-ภาระกิจ กสก.
พฤ-งานนโยบายกระทรวงฯ
ศ-สรุปผลการดำเนินงาน/ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามภาระกิจ
Training
การฝึกอบรม
วิธีการ ได้เเก่ เวทีเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับต่างๆ (NW,RW,TW,PW,DW) และการฝึกอบรม เพื่อเพิ่มพูนทักษะองค์ความรู้ต่างๆเเก่เจ้าหน้าที่
เนื้อหาการฝึกอบรม ด้านสมรรถนะ ด้านวิชาการ ด้านเเผนงานโครงการ
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบโครงการ
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามวัตถุประสงค์
ลักษณะของกิจกรรม
การส่งเสริมแบบครบวงจร
การส่งเสริมการขาย
การส่งเสริมที่ใช้ตลาดนำ
การส่งเสริมที่ดำเนินการแบบหวังผลกำไรทางธุรกิจทางอ้อม
องค์ประกอบสำคัญ
พัฒนาด้านโลจิสติกส์
ด้านการเงิน
พัฒนาด้านบริหารทรัพยากรมนุษย์
พัฒนาด้านการตลาด
พัฒนาด้านการเกษตร
การจัดหาปัจจัยการผลิต
รูปแบบและเเนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อการพึ่งพาตนเอง (TERMS) ตามเเนวทาง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
ข้อพิจารณาในการใช้รูปแบบการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตรเพื่อการดำเนินการเชิงธุรกิจ
นวัตกรรมการจัดการ
ทักษะนักจัดการ
ข้อมูลการตลาด
รูปแบบและเเนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการกษตรตามจุดเน้น
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรจำเเนกตามพื้นที่เป้าหมาย
แนวทางการดำเนินการ
การดำเนินงาน (การจัดเวทีเเลกเปลี่ยนเรียนรู้เเละการบริหารจัดการผลิตเเละการตลาด)
การพัฒาผู้ประสานงานหรือผู้จัดการพื้นที่ (จัดการอบรม จัดเวทีเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดทีมให้คำปรึกษา)
การติดตามและประเมินผล
การเตรียมการ (กำหนดพื้นที่เป้าหมาย กำหนดเเนวทางการดำเนินงาน ชี้เเจง ประชาสัมพันธ์)
การบริหารจัดการแปลงในด้านการผลิตเเละด้านการตลาด
การมีผู้ประสานงานในพื้นที่
การรวมกลุ่มเกษตรกร
กำหนดเป้าหมายการพัฒนา
การประสานงานร่วมมือกับภาคีเเละเครือข่าย
กำหนดพื้นที่เป้าหมาย
การพิจารณาในการใช้รูปแบบการส่งเสริม
ไม่ยึดติดกับพื้นที่การปกครอง
บูรณาการโดยมีพื้นที่เป็นจุดศูนย์กลาง
การวิเคราะห์พื้นที่ให้ชัดเจน
ไม่เเข่งขัน เเบ่งปัน แชร์ความรู้ร่วมกัน
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรจำแนกตามสินค้าแลบริการเป้าหมาย
แนทางการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งเเวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
แนวทางการสร้างเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่เป็นพืชอาหารเเละพืืชพลังงาน
เเนวทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส์สินค้าเกษตร
แนวทางการสนับสนุนการพัฒนาระบบตลาดสินค้าเกษตร
การผลิตสินค้าตลอดห่วงโซ่อุปทาน
รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรจำแนกตามบุคคลเป้าหมาย
เน้นพัฒนา "คน"
กลุ่มเกษตรกร
เครือข่ายเกษตรกร
การเข้าถึงข้อมูล
ส่งเสริมการลงทุนด้านการเกษตร
สร้างเเรงจูงใจให้เป็นเกษตรกรรายใหญ่
เชื่อมโยงภาคีเครือข่าย
สร้างเเละปรับปรุงระเบียบหรือข้อตกลงระหว่างภาคีเครือข่าย
เกษตรกรรายย่อย
สร้างความมั่นคงในอาชีพ
สร้างความมั่นคงเเละปลอดภัยด้านอาหาร
สร้างองค์ความรู้ที่เหมาะสม
สร้างขีดความสามารถเเละภูมิคุ้มกัน
การพิจารณาในการใช้รูปแบบการส่งเสริม
เข้าใจกลุ่มเป้าหมาย
จัดความสัมพันธ์เชื่อมโยงของบุคคล
เลือกวิธีการที่เหมาะสมกับเป้าหมาย
ลักษณะของระบบ T & V
ความสม่ำเสมอในการเยี่ยมเยียน
เชื่อถือได้
ความเป็นมืออชีพ
เนื้อหาอบรมเฉพาะด้าน
เวลาการทำงานที่เเน่นอน
การเชื่อมโยงระหว่างการส่งเสริมและการวิจัย
การทำงานภายใต้การบังคับบัญชาเบ็ดเสร็จ
การพิจารณาในการใช้รูปแบบการส่งเสริม
คุณภาพและมาตรฐานของสินค้าเละบริการ
อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ของสินค้าเเละบริการ
การเกิดนวัตกรรมสินค้าเเละบริการ
การสื่อสารกับตลาดผู้บริโภค
ความสอดคล้องระหว่างศักยภาพการผลิตเเละปริมาณความต้องการของตลาด
การพิจารณาตลาด
เเนวทางสำคัญในการดำเนินงานส่งเสริม
การทำแผนปฏิบัติงาน
การติดตามและประเมินผล
การดำเนินงานตามแผน
การวินิจฉัยปัญหา
การกำหนดวัตถุประสงค์เเละเป้าหมาย
โครงการเเบ่งได้ 3 แบบ
ลักษณะสำคัญของรูปแบบการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตรแบบโครงการ
กำหนดขอบเขตพื้นที่การดำเนินงานชัดเจน
ขอบเขตการบริหารและความรับผิดชอบที่เป็นเอกเทศ
กำหนดระยะเวลาเริ่มต้นเเละสิ้นสุดชัดเจน
รูปแบบการดำเนิงานที่สอดคล้องกลมกลืนกัน
กำหนดวัตถุประสงค์ชัดเจน
มีการทำสัญญกับผู้เกี่ยวข้อง
โครงการแบบลูกโซ่
โครงการแบบระบบวงจร
โครงการแบบเครือข่าย
ผู้มีส่วนร่วม
เกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
ผู้นำชุมชน
สถาบันเกษตรกร
ภาคีเครือข่าย
นักส่งเสริม
ตัวอย่างเช่น ศบกต. , ศพก. เป็นต้น
มีเหตุผล-พอประมาณ-มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว/ความรู้คู่คุณธรรม
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 การส่งเสริมให้เกษตรกรเกิดความมั่นคง
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 2 การส่งเสริมให้เกษตรกรเกิดการรวมกลุ่ม
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 3 การส่งเสริมให้เกษตรกรเกิดการเชื่อมโยงระดับเครือข่าย