Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านจุลชีพ 60797E0D-6B2F-418F-86BE-E7E8567937CD - Coggle Diagram
ยาต้านจุลชีพ
ยาปฏิชีวนะ
1.Penicillins
-
การแบ่งกลุ่ม Penicillins
Natural penicillins
- Penicillin G
- penicillin V
Penicillinase-resistant penicillins
- Methicillin
- Nafcillin
- Cloxacillin
Aminopenicillins
- Ampicillin
- Amoxicillin
- Becampicillin
Antipseudomonas penicillins
- Carbenicillin
- Mezlocillin
- Piperacillin
Amidinopenicillins
- Mecillinam
มีผลต่อเชื้อ
- Streptococci
- Staphylococci
- Enterobacter
- Proteus
- Klebsiella
First – generation
- เป็นยาที่มีประสิทธิภาพดีสำหรับเชื้อกรัมบวก
- สามารถฆ่าเชื้อกรัมลบได้บางชนิดเช่นE.coli ,
Klebsiella pneumoniae
แบ่งเป็น
- 1st generation
mainly gram positive , some gram negative (cefazolin)
- 2nd generation
weaker gram positive,better gram negative (cefuroxime)
- 3rd generation
excellent gram negative, some gram positive (ceftriaxone)
- 4th generation
excellent gram negative,good gram positive (cefepime )
Second – generation
- เป็นยาที่มีฤทธิ์กว้างกว่ายารุ่นที่หนึ่ง สามารถฆ่า เชื้อกรัมลบได้มากชนิดกว่า และได้ผลดีกว่า
- ผลต่อเชื้อกรัมบวกคล้ายๆกัน แต่ทนต่อเบต้า- lactamase ได้ดีกว่า
Third – generation
- มีผลออกฤทธิ์กว้างกว่า 2 กลุ่มแรก และ สามารถฆ่าเชื้อPseudomonas ได้ด้วย
Fourth – generation
- มีผลออกฤทธิ์กว้างและลึกที่สุด
- โดยเฉพาะต่อเชื้อกรัมลบทั้งที่ไวและดื้อยาใน 3
กลุ่มแรกและยากลุ่มอื่น
3.Carbapenems
- ยาตัวแรกในกล่มุ นี้คือ imipenem
- imipenem เป็น ยาที่มีประสิทธิภาพสูงและมีขอบเขตการทำลายเชื้อ
ค่อนข้างกว้าง
- ฆ่าเชื่อแกรมลบและแกรมบวกทั้งชนิด aerobic และ anaerobic
- ใช้ได้ผลกับเชื้อพวก เบต้า-lactamase producing resistant strains
4.Monobactams
- ยาในกลุ่มนี้คือ astreonam ได้รับการสังเคราะห์มาเพื่อให้มีความคงทนต่อการ ทาลายของ เบต้า-lactamase
- มีประสิทธิภาพในการทำลายเชื้อเฉพาะแกรมลบ anaerobic เท่านั้น
5.Polymyxins : Polymixin B , Polymixin E
- ยากลุ่มนี้มีพิษต่อร่างกายสูงที่สุด เพราะทั้งในคนและแบคทีเรียต่างก็มีเยื่อ หุ้มเซลล์ ซึ่งจะถูกทาลายโดยยาทั้งคู่
- ถ้าให้ทางปากจะมีประโยชน์ในการรักษาลำไส้อักเสบและท้องเดินจากเชื้อแบคทีเรีย
- เนื่องจากยามีพิษสูงมากจึงไม่แนะนำให้ใช้ในโรคติดเชื้อที่ไม่รุนแรงมาก
- ปัจจุบันมักใช้ topical use
6.Aminoglycoside
- เป็นยากลุ่มที่มีขอบเขตในการต้านจุลชีพค่อนข้างกว้าง
- ฆ่าเชื้อกรัมบวก และเชื้อกรัมลบหลายชนิด ยกเว้น
Pseudomonas, bacteroides
- ทำลายเชื้อวัณโรคได้ด้วย
7.Chloramphenicol
- เป็นยายับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่มีฤทธิ์กว้าง
- ได้ผลทั้งเชื้อกรัมบวกและกรัมลบ
- แต่อาจออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรยีบางชนดิ H.influenzae
8.Tetracycline
- เป็นยายับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่ออกฤทธิ์ กว้าง
- ได้ผลทั้งเชื้อกรัมบวกและกรัมลบ หลายชนิด
- รวมทั้ง Rickettsiae และ Chlamydia
9.Macrolides
- เป็นยายับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
- เหมาะสำหรับใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา
penicillin มาก่อน
- ยานี้ได้ผลดีต่อเชื้อ Mycoplasma pneumonia , H. influenzae เชื้อคอตีบ และไอกรน
- แต่เนื่องจากยากลุ่มนี้มีโอกาสเกิดการดื้อยาได้บ่อย และรวดเร็ว จึงควรใช้เมื่อใช้ยาอื่นไม่ได้ผล
10.Sulphonamide
- ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของ แบคทีเรยีทั้งกรัมบวกและกรัมลบ
- แต่ใช้ได้ผลดีกับโรคติดเชื้อที่ไม่รุนแรงและไม่มีหนอง
11.Fluoroquinolones
- ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ทั้งกรัมบวก และกรัมลบ
- Norfloxacin , Ofloxacin , Ciprofloxacin
ยารักษาวัณโรค
-
Antiprotozoals
- เป็นยาในกลุ่ม nitroimidazloes ได้แก่ Tinidazole,ornidazole
- Metronidazole เป็นยาที่เลือกใช้เป็นอันดับแรก สำหรับโรคติดเชื้อ
โปรโตซัว trichomoniasis, amebiasis และ grardiasis
-
ยารักษาเชื้อรา
-
-
ยาต้านไวรัส (Antiviral drugs)
Acyclovir
- เป็นยารักษาโรคติดเชือเฮอร์พีสที่ดีที่สุดตัวหนึ่ง
- โดยเฉพาะไวรัสเริม และ อีสุกอีใส – งูสวัด
- ใช้ในการรักษาการติดเชือที่กระจกตา แผลที่ริมฝีปาก และ อวัยวะสืบพันธ์ุ สมองอักเสบ
Vibarabin ( Ara-A , Adrenosine arabinoside )
- เป็นยาที่ให้ผลในการรักษาเชือไวรัสกล่มุ เฮอร์พีสได้ดีมาก
- ในรายที่เป็นแผลที่กระจกตารายที่มีการติดเชื้อทั่วตัวซึ่งมีอาการรุนแรงโดยเฉพาะในทารกแรกเกิดและผู้ป่วยที่มีระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง
Idoxuridine ( IDU )
- เป็นยาตัวแรกที่ให้ผลดีในการรักษาการอักเสบและแผลที่กระจกตาซึ่งเกิดจากเชือเฮอร์พีส
Amantadine , Rimantadine และ Tromantadine
- เป็นสารสังเคราะห์ที่ใช้ป้องกัน และ รักษาไข้หวัดใหญ่ type A
- โดยให้รับประทานทันทีขณะที่มีการระบาดหรือเมื่อไปสัมผัสกับผ้ปู่วย
- ยาจะออกฤทธิ์ป้องกนัได้ทันทีและสามารถป้องกันการติดเชื้อได้
Interferon ( IFN )
- IFN เป็นโปรตีนที่เซลล์ที่ติดเชื้อ ไวรัสสังเคราะห์ขึ้น
- มีฤทธิ์ป้องกันไม่ให้เซลล์ที่ยังไม่ติดเชื้อไวรัสติดเชือไวรัส
- สามารถยับยั้งการเพิ่มจำนวนของเชื้อไวรัสได้หลายชนิด โดยไม่ท้าอันตรายต่อโฮสท์เซลล์
ยาต้านไวรัสเอชไอวี
ANTI-HIV
-
Protease inhibitors
- ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ protease จึงขัดขวางขั้นตอนreplication
- แต่จะให้ผลการรักษาดีข้ึนถ้าใช้ร่วมกับยายับยั้งเอนไซม์ Reverse transcriptase
ยาต้านมาลาเรีย (Antimalarial drugs)
-
Chloroquine Phosphate, Chloroquine Hydrochloride
- ออกฤทธิ์ยับยังการสร้าง DNA และ RNA
Primaquine Sulfate
- ป้องกันการเกิดไข้กลับ
- สามารถรักษามาลาเรียที่เกิดจากเชื้อ P.v, P.o ได้หายขาด
- ใช้ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อมาลาเรีย
Mefloquine
- ไม่ได้จับกับDNA
- เมื่อให้ครังเดียวเมโฟลควินสามารถกำาจัดเชื้อมาเลเรียในเลือดได้รวดเร็วรวมทั้งเชื้อที่ดื้อต่อ Chloroquineดว้ย
- สามารถรักษามาลาเรียจาก P. falciparum
Antifolate
- เมื่อน้ำยา Sulfadoxine ผสมกับ Pyrimethamine ยา 2 ชนดิ จะออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ DHFR คนละขั้นตอนกันจึงเสริมฤทธิ์กัน
- ใช้ในการรักษามาลาเรีย จากเชื้อที่ดื้อต่อยา Chloroquine
- มีข้อสังเกตว่า Sulfonamide จะใช้ได้ผลกับเชื้อ P. falciparum เท่านั้นจะไม่ได้ผลกับ P. vivax
GINGHAOSU (ARTEMISININ)
- ยาจะฆ่าเชื้อในเลือดเท่านั้นไม่มีผลต่อเชื้อในตับ
- เนื่องจากยามีค่าครึ่งชีวิตสั้นมากจึงไม่มีผลต่อการป้องกันการติดเชื้อ
ยาปฎิชีวนะอืน ๆ
- Tetracyclines มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อได้แต่ออกฤทธิ์ช้า
- มักใช้ร่วมกับ Quinine ในการ ฆ่าเชื้อ P. falciparum
ที่ดื้อยา Chloroquine
- Tetracyclines ชนิดที่ใช้มาก คือ Doxycycline