Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6 โภชนาของบุคคลในภาวะปกติ - Coggle Diagram
บทที่6 โภชนาของบุคคลในภาวะปกติ
โภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์
•การตั้งครรภ์เป็นการเปลี่ยนแปลงของร่างกายในภาวะปกติตามธรรมชาติ
•ไม่ใช่การเจ็บปวดแต่มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลายอย่าง
•หากได้รับอาหารไม่เพียงพอก็จะมีผลเสียต่อมารดาและทารกในครรภ์ได้
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีระของหญิงตั้งครรภ์
1มดลูกเพิ่มความจุ (จาก10มล.>>5ลิตร\น้ำหนักจาก70กรัม>>1,100กรัม)
2การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน (estrogen และ progesterone เพิ่ม)
3การเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนโลหิต
-เมื่อครรภ์ใกล้ครบกำหนด ปริมาณของเลือดจะเพิ่มประมาณร้อยละ45
-มีการเพิ่มขึ้นของ plasma มากกว่า เม็ดเลือดแดง
1สารอาหารที่ให้พลังงาน
-ตลอดการตั้งครรภ์หญิงตั้งครรภ์ต้องการพลังงานเพิ่ม 80,000 kcal หรือประมาณ 300 กิโลแคลอรี่ต่อวัน
2โปรตีน protein
-การได้รับสารโปรตีนเพียงพอมีผลต่อการเจริญเติบโตของสมองทารก
3แคลเซียม Calcium
-ต้องการแคลเซียมเพิ่มขึ้นเพื่อใช้ในการสร้างกระดูกและฟันของทารก
4ธาตุเหล็ก Iron
ต้องการเพิ่มขึ้นเพื่อใช้ในการสร้างเม็ดเลือดแดงและสะสมไว้ใช้สำหรับแม่ในระยะคลอด
โภชนาการสำหรับหญิงหลังคลอดและหญิงให้นมบุตร
•อาหารของแม่ในระยะให้นมบุตร คล้ายกับระยะตั้งครรภ์ แต่มีการเพิ่มปริมาณขึ้นเพราะทารกต้อวการสารอาหารมากกว่าตอนอยู่ในท้อง
•ความต้องการวิตามินและแร่ธาตุ บางชนิดเพิ่มขึ้นเช่นวิตามิน A C B6 folate เป็นต้น
•อาจพบแร่ธาตุในมวลกระดูกลดลง เช่น Ca P
โภชนาการสำหรับวัยทารก
•อาหารที่เหมาะสมหรับทารกทั้งชนิดและปริมาณเป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาและการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองเพราะทารกเป็นระยะที่ร่างกายเติบโตอย่างรวดเร็วน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
•เมื่ออายุ 4-5 เดือนควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเป็น2เท่าของน้ำหนักตัวแรกเกิด
•เมื่ออายุ 1 ปี น้ำหนักควรเพิ่ม เป็น3เท่าของน้ำหนักตัวแรกเกิด
•ร้อยละ 80 ของจำนวนเซลล์สมองของคนเราถูกสร้างขึ้นในช่วง3เดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์
การเลือกอาหารสำหรับทารก
•ให้ทารกได้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและหลากหลายเพื่อให้พลังงานและสารอาหารให้ครบถ้วนและเพียงพอกับความต้องการ
•กินไขมันให้เพียงพอ
•กินผักผลไม้ทุกวันและกินให้หลากหลายชนิดโดยเฉพาะผักใบเขียวและผักสีส้ม
กินเนื้อสัตว์ทุกวัน เช่น หมู ไก่ ปลา ตับ
โภชนาการสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
•เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองช้ากว่าในวัยทารก**ในระยะแรกๆของวัยนี้การเจริญเติบโตค่อนข้างเร็วและช้าลงเมื่ออายุมากขึ้น
•เด็กวัยนี้เสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหารเนื่องจากเด็กยังไม่โตพอที่จะเข้าโรงเรียนและพ่อแม่ต้องไปทำงานจึงต้องเตรียมอาหารที่เหมาะสมและเพียงพอกับความต้องการของเด็ก
การสร้างนิสัยการรับประทานอาหารที่ดีแก่เด็กก่อนวัยเรียน
•เด็กมีการเจริญเติบโตของร่างกายและมีการออกกำลังกายทำให้สูญเสียพลังงาน
•ต้องจัดอาหารให้เพียงพอและให้เพิ่มเมื่อเด็กต้องการ
•ไม่ควรบังคับหรือฝืนใจเด็กควรหาวิธีปรุงอาหารตามที่เด็กชอบ
ควรฝึกให้เด็กรับประทานอาหารหลักวันละ3มื้อให้มีอาหารว่างระหว่างมื้อเช้าและมื้อบ่าย
โภชนาการสำหรับเด็กวัยเรียน
•เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องจากเด็กก่อนวัยเรียน
•อัตราการเจริญเติบโตในช่วงวัยเรียนจะเป็นไปอย่างช้าๆในช่วงวัยเรียนตอนปลาย
•เพศหญิง เริ่มเข้าสู่วัยแรกรุ่น เมื่ออายุ10ปี เร็กกว่าผู้ชายประมาณ2ปี
โภชนาการสำหรับวัยรุ่น
•ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลายอย่าง
-ต่อมไร้ท้อต่างๆทำงานมากขึ้น
-มีการสร้างเซลล์และเนื้อเยื่อมากขึ้น
-มีการสร้างกระดูกมากให้มีขนาดใหญ่ทำให้ร่างกายสูง ละน้ำหนักเพิ่มขึ้น
วัยผู้ใหญ่
•วัยนี้ร่างกายจะไม่มีการเสริมสร้างเพื่อการเจริญเติบโตแต่ยังมีการเสริมสร้างเซลล์ต่างๆเพื่อรักษาสมรรถภาพการทำงานของร่างกายให้คงที่
•เมื่อ เมื่ออายุมากขึ้นการทำงานของเซลล์ต่างๆเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงประสิ ประสิทธิภาพการทำงานของเซลล์ต่างๆจะลดลงขึ้นอยู่กับโภชนาการและการแข็งแรงของกลางกาย
•ผู้ ผู้ใหญ่ที่มีภาวะโภชนาการดีสามารถทำให้อายุขัยยืนนานมีชีวิตที่คุณภาพและเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างสุขภาพดีสมบูรณ์แข็งแรง
•เมื่อ เมื่ออายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไปจะมีปัญหาเรื่องน้ำหนักเกินทำให้เกิดโรคต่างๆเช่นโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
ความต้ความต้องการสารอาหารในวัยสูงอายุ
• ผู้ชายต้องการพลังงานมากกว่าผู้หญิงเพราะในผู้หญิงมีน้ำหนักน้อยกว่าทำและทำกิจกรรมน้อยกว่าผู้ชายถ้าได้รับพลังงานจากอาหารมากแต่ใช้แรงงานในการทำกิจกรรมน้อยน้ำหนักก็จะเพิ่มมากขึ้น
• พลัพลังงานทั้งหมด = คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 55 โปรตีนร้อยละ 15 ไขมันร้อยละ 30
•วัย วัยนี้ต้องการโปรตีนเพื่อเสริมสร้างสิ่งต่างๆให้ทำงานปกติ
•วั วัยนี้มีความต้องการพอๆกับวัยแรกรุ่นยกเว้นแคลเซี่ยมและฟอสฟอรัสต้องการน้อยกว่า 800 Mg/day
วัยทอง
•วัยทองหมายถึงวัยหมดประจำเดือนในผู้หญิงอายุประมาณ 50 ปี
•มีอาการร้อนวูบวาบ
•มีการเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์
•อาจมีการกระดูกพรุนกระดูกเปราะหักง่าย
•มีอาการของระบบหัวใจและหลอดเลือด
โภชนาการสำหรับ
•การทำงานของระบบประสาทสัมผัสทั้งห้าลดลงได้แก่การมองเห็นการได้ยินการรับรสการสัมผัสการดมกลิ่น
•ภาวะสุขภาพปากและฟันฟันผุหรือไม่มีฟันต่อมน้ำลายทำงานลดลง
•การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารและลำไส้ลดลงท้องผูกย่อยโปรตีนได้น้อยลง
•ประสิประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลงเนื่องจากตับอ่อนหลังอินซูลินได้น้อยลงและเหลือเยอะต่อต้านการทำงานของอินซูลิน
•อวัยวะต่างๆและเนื้อเยื่อกระดูกลดลงโปรตีนในร่างกายลดลง
•เนื้อกระดูกลดลงเมื่ออายุ 40 ปีขึ้นไปเนื่องจากได้รับแคลเซี่ยมไม่เพียงพอต่อการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนที่มีผลต่อการทำงานของร่างกาย
ความต้องการสารอาหารในวัยสูงอายุ
• พลังงานผู้สูงอายุมีความต้องการพลังงานน้อยกว่าวัยหนุ่มสาว
• โปรตีนมีความสำคัญในการสร้างและคงสภาพของเนื้อเยื่อในร่างกาย
• ไขมันควรลดปริมาณไขมันให้บริโภคโดยเฉพาะกดไขมันอิ่มตัวและคลอเรสเตอรอลเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ
•คาร์โบไฮเดรตผู้สูงอายุมีโอกาสเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูงและโรคเบาหวาน
• วิตามินควรรับประทานวิตามินเอผู้สูงอายุชายต้องการ 700 และผู้สูงอายุเพศหญิงต้องการ 600