Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) - Coggle Diagram
ยาต้านจุลชีพ
(Antimicrobial drugs)
:<3: ยาปฏิชีวนะ
1.Penicillins
เป็นยาปฏิชีวนะชนิดแรกที่ได้จาก Penicillinium notatum
:star: การแบ่งกลุ่ม Penicillins
Natural penicillins
-Penicillin G
-Penicillin V
Penicillinase-resistant penicillins
-Methicillin
-Nafcillin
-Cloxacillin
Aminopenicillins :
-Ampicillin
-Amoxicillin
-Becampicillin
Antipseudomonas penicillins
-Carbenicillin
-Mezlocillin
-Piperacillin
Amidinopenicillins
-Mecillinam
:star: ปฏิกิริยาที่ไม่พึงประสงค์ของ Penicillins
การแพ้ยาหรือภาวะภูมิคุ้มกันไว (Hypersensitivity)
-ผื่นลมพิษ
-มีไข้ หลอดลมหดตัว หลอดเลือดอักเสบ
-serum sickness , exfoliative dermatitis
-Stevens-Johnson syndrome และ anaphylaxis
➢ anaphylaxis ความดันโลหิตต่ำ หลอดลมหดตัว หอบหืดอย่างรุนแรง คลื่นไส้ อาเจียน ถ้ารุนแรงถึงเสียชีวิตได้
:star: ประโยชน์ทางคลินิกของ Penicillins
เป็นยาที่เลือกใā้เป็นอันดับแรก เพื่อรักษาโรคติดเชื้อกรัมบวกและกรัมลบ
ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติการแพ้ยา
เลือกใช้เป็นอันดับแรกในหญิงมีครรภ์
แพ้ Penicillins ควรเลือกใช้ Erythromycin แทน
ระวังการใช้ Cephalosporin เพราะอาจเกิดการแพ้ยาได้
2.Cephalosporins
:red_flag: มีผลต่อเชื้อ
Streptococci
Staphylococci
Enterobacter
Proteus
Klebsiella
:<3: Cephalosporins แบ่งเป็น
1st generation
mainly gram positive ,some gram negative (cefazolin)
:star: First – generation
เป็นยาที่มีประสิทธิภาพดีสำหรับเชื้อกรัมบวก
สามารถฆ่าเชื้อกรัมลบได้บางชนิด เช่น E.coli ,Klebsiella pneumoniae
Cephalexin :1 – 4 กรัม แบ่งให้ทุก 6 ชั่วโมง
Cephradine : 1 – 4 กรัม แบ่งให้ทุก 6 ชั่วโมง
Cephalothin , Cephapirin
2nd generation
weaker gram positive, better gram negative (cefuroxime)
:star: Second – generation
มีฤทธิ์กว้างกว่ายารุ่นที่หนึ่ง ได้ผลดีกว่า
Cefaclor : 250 มก. ทุก 8 ชั่วโมง
Cefamandole , Cefuroxime
3rd generation
excellent gram negative,some gram positive (ceftriaxone)
:star: Third – generation
ออกฤทธิ์กว้างกว่า 2 กลุ่มแรก และ
สามารถฆ่าเชื้อ Pseudomonas ได้ด้วย
Cefotaxime
cefoperazone
4th generation
excellent gram negative, good gram positive (cefepime )
:star: Fourth – generation
ออกฤทธิ์กว้างและลึกที่สุด
Cefpirome
Cefepime
:<3: อาการไม่พึงประสงค์
การแพ้ยา (Hypersensitivity)
คลื่นไส้ อาเจี่ยน ท้องเดิน
IM : ปวดร้อนบริเวณกล้ามเนื้อ
IV : อาจเกิดการอักเสบ
ผลต่อไต ถ้าใช้ร่วมกับ Aminoglycoside จะเพิ่มความเป็นพิษต่อไต
:<3: ประโยชน์ทางคลินิกของ Cephalosporin
จัดเป็นยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์กว้างมีประสิทธิภาพในการรักษาสูง
ไม่ควรเลือกใช้เป็นยาชนิดแรก
ควรระวัþปฏิกิริยาระหว่าþยาเหล่านี้กับแอลกอฮอล์ที่เรียกว่า Disulfiram – like reaction
ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติการแพ้ยากลุ่ม Penicillins
3.Carbapenems
ยาตัวแรกในกลุ่มนี้คือ imipenem
เป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูงและมีขอบเขตการทำลายเāื้อค่อนข้างกว้าง
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ความดันโลหิตลดลง หลอดเลือดดำบริเวณที่ฉีดอักเสบ ผิวหนังเป็นผื่น คัน และอักเสบ enzymes ตับเพิ่มขึ้น
ในเด็กและผู้ป่วยโรคไตต้องมีการปรับขนาดยา
4.Monobactams
ยาในกลุ่มนี้คือ astreonam
มีประสิทธิภาพในการทำลายเชื้อเฉพาะแกรมลบ anaerobic เท่านั้น
ข้อบ่งใช้
รักษาโรคติดเชื้อแกรม negative bacilli ในบริเวณทางเดินหายใจ, ทางเดินปัสสาวะ, อวัยวะเพศ, กระดูกและข้อกระดูก, soft tissue และในกระแสเลือด
อาจใช้ได้ผลในการรักษาโรคติดเชื้อ P. aeruginosa ที่ดื้อต่อยา piperacillin หรือ tobramycin
อาการไม่พึงประสงค์
เส้นเลือดดำบริเวณฉีดยาซ้ำๆ อักเสบ ผื่นคัน ท้องเสีย
5.Polymyxins : Polymixin B , Polymixin E
ถ้าให้ทางปากจะมีประโยชน์ในการรักษาลำไส้อักเสบ และท้องเดินจากเชื้อแบคทีเรีย
เนื่องจกยามีพิษสูงมากจึงไม่แนะนำให้ใช้ใน
โรคติดเāื้อที่ไม่รุนแรงมาก
ปัจจุบันมักใช้ topical use
อาการไม่พึงประสงค์
เป็นพิษต่อไตสูงมาก
มีพิษต่อระบบประสาท ทำให้ชารอบๆปาก และอาจมีอาการเดินโซเซ
ทำให้กล้ามเนื้อหายใจหยุดงาน
เกิดอาการแพ้ยา
6.Aminoglycoside
เป็นยากลุ่มที่มีขอบเขตในการต้านจุลชีพค่อนข้างกว้าง
ทำลายเชื้อวัณโรคได้ด้วย
:red_flag: ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่
Streptomycin, Neomycin, sisomicin
Kanamycin, Amikacin
Gentamicin, tobramycin
อาการไม่พึงประสงค์
พิษต่อไต มีฤทธิ์ทำลายกรวยไต และท่อไต
พิษต่อหู หูหนวกได้ เนื่องจากยาทำลาย
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 ที่ทำหน้าที่ควบคุมการทรงตัว
ยับยั้งการสื่อประสาทระหว่างปลายเส้นประสาทกับกล้ามเนื้อลาย
7.Chloramphenicol
เป็นยายับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่มีฤทธิ์กว้าง
อาการไม่พึงประสงค์
กดการสร้างเม็ดเลือดแดง ทำให้ผู้ป่วยมีอาการซีด
กดการทำงานของไขกระดูก ทำให้เกิด aplastic anemia
Gray syndrome ในเด็กที่การทำงานของตับยังไม่สมบูรณ์
8.Tetracycline
เป็นยายับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่มีฤทธิ์กว้าง
Tetracyclin :1 – 2 กรัม แบ่งใช้4 ครั้ง
Oxytetracyclin : 1 – 2 กรัม แบ่งใช้4 ครั้ง
Doxycyclin : 100 มก. ทุก 12 ชั่วโมง
อาการไม่พึงประสงค์
รบกวนการสร้างกระดูกและฟัน
ระคายเคืองทางเดินอาหาร
Fanconi ‘ s syndrome
พิษต่อตับ ทำให้เกิด fatty liver
การแพ้ยา โดยเกิดผื่นคัน เกิดอาการทาง
ผิวหนังได้ง่ายเวลาโดยแสง
9.Macrolides
เหมาะสำหรับใช้ในกรณีที่ผู้ป่üยมีประวัติแพ้ยาpenicillin มาก่อน
แต่เนื่องจากยากลุ่มนี้มีโอกาสเกิดการดื้อยาได้บ่อยและรวดเร็ว จึงควรใช้เมื่อใช้ยาอื่นไม่ได้ผล
Erythromycin : 1 – 4 กรัม แบ่งให้ทุก 6 ชม.
Roxitromycin : 150 มก. 1 x 2
อาการไม่พึงประสงค์
การแพ้ยา อาการที่เกิดไม่
รุนแรง มีไข้ผื่นแดงนูน
Cholesstatic hepatitis
เกิดเมื่อใช้ erythomycin estolate
ระคายเคืองทางเดินอาหาร
คลื่นไส้อาเจียน
10.Sulphonamide
ใช้ได้ผลดีกับโรคติดเāื้อที่ไม่รุนแรงและไม่มีหนอง
Cotrimoxazole
เป็นยาที่ประกอบด้วย
sulfamethoxazole และ trimethoprim (ในสัดส่วน 5 :1) sulfamethoxazole (400 mg) +trimethoprim (80 mg)
เพื่อให้ยาเสริมฤทธิ์ซึ่งกันและกัน
อาการไม่พึงประสงค์
Kernicterus ในหญิงตั้งครรภ์ หรือ
ทารกแรกเกิด
11.Fluoroquinolones
Norfloxacin , Ofloxacin , Ciprofloxacin
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปวดศีรษะ และเวียนศีรษะ
:<3: ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ของยาต้านจุลชีพ
ระบบทางเดินอาหาร
เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ระคายเคืองทางเดินอาหาร
tetracycline, erythromycin, p-aminosalicylic acid (PAS) และ sulfonamides
ท้องเดิน
clindamycin และ ampicillin
tetracycline, p-aminosalicylic acid (PAS), cephalosporins และ amoxycillin+clavulanate (clavulanate เป็น เบต้า-lactamnase inhibitor)
ระบบเลือด
โลหิตจางเนื่องจากเม็ดเลือดแดงแตก (hemolyticanemia)
sulfonamides, dapsone, PAS, nitrofurantoin
กดการทำานของไขกระดูก (bone marrow depression)
chloramphenicol, thiacetazone, streptomycin
ตับ
ยารักษาวัณโรคยิ่งมีโอกาสเป็นอันตรายต่อตับได้มาก
erythromycin, methicillin, tetracyclines และ
sulfonamides
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
เกิดการเน่าตายของหลอดไตฝอย (tubular necrosis) เช่น aminoglycosides, cephalosporin, sulfonamides
เกิดการอักเสบของเซลล์ไต (interstitial cell nephritis) เกี่ยวข้องกับการเกิด immune complex ยาที่เป็นสาเหตุ เช่น penicillins, rifampicin,vancomycin,sulfonamides
ยาตกตะกอนที่ทางเดินปัสสาวะ เช่น sulfonamides
rifampicin ทำให้ปัสสาวะมีสีแดง
ระบบประสาท
cyclosporinและ imipenem
isoniazid, ethambutol, cotrimoxazole, minocycline, meropenem
ระบบประสาทส่วนปลาย ได้แก่ isoniazid ทำให้เกิดการเสื่อมสลาย
ของ axonที่ประสาทส่วนปลาย
chloramphenicol ทำให้ประสาทตาอักเสบ
หู
cochlea จะทำให้การได้ยินลดลง
ยาพวกaminogylcosides เป็นพิษต่อหู
ผิวหนังและการแพ้ยา
rifampicin, isoniazid, ethambutol, thiacetazone, clindamycin
penicillins และ cephalosporins
ตา
ทำให้ความคมāัดของภาพที่มองเห็นลดลง
ethionamide,cyclosporin,chloramphenicol,
hydroxychloroquine
ethambutol ยังทำให้ตาบอดสีเขียวได้
กระดูกและฟัน
tetracycline รบกวนการเจริญของกระดูกและฟัน
การใช้fluoroquinolones ในเด็กทำให้มีอาการปวดกระดูกและปวดข้อได
กลุ่มอาการ (syndrome)
Disulfiram-like reaction
cefamandole, mocalactam, cefoperazone และผู้ป่วยไปดื่มเหล้าทำให้เกิดอาการร้อนวูบวาบ หน้าแดง
Fanconi-like syndrome เกิดเนื่องจากใช้
tetracycline ที่เสื่อมสภาพ
Graysyndrome : chloramphenicol
Kernicterus : sulfonamides
Steven-Johnson syndrome :sulfonamides,
thiacetazone และ clindamycin
:<3: คำแนะนำทั่วไปในการใช้ยาต้านจุลชีพ
ควรรับประทานยาติดต่อกันทุกวันตามแพทย์สั่งจนยาหมด เพื่อให้ได้ผลในการรักษา และป้องกันการดื้อยา
:<3: ยาที่ใช้ในการรักษาโรคต่างๆ
:star: ยารักษาวัณโรค
การจำแนกยารักษาวัณโรคเป็น 2 กลุ่ม
1.ยาที่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรค (Bactericidal activity)
Isoniazid
Rifampicin
Streptomycin
Pyrazinamide
Ethionamide
**ยากลุ่มนี้ มีบทบาทสำคัญที่จะย่นระยะเวลาในการรักษาวัณโรคให้สั้นลง
2.ยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรค (Bacteriostatic activity)
Thiacetazone
Ethambutol
PAS
Cycloserine
**เมื่อใช้ร่วมกับยากลุ่มแรกเป็นเวลานานพอ สามารถทำให้โรคหายขาดได้เช่นกัน
ยาอันดับแรก (Drugs of first choice)
Streptomycin
ISoniazid
Ethambutol
Aminosalicylic acid
Rifampicin
Isoniazid
กลไกนี้เชื่อว่าไม่มีผลต่อเชื่อแต่ทำให้เกิดพิษทางระบบประสาทในคน
:red_flag: อาการไม่พึงประสงค์
มีพิษโดยตรงต่อระบบประสาททั้งส่วนกลางและปลาย
มีอาการบวมร่วมด้วย
ชาตามปลายมือ
ประสาทตาอักเสบ
Allergic reaction จะพบว่ามีไข้ ผื่นขึ้นตามผิวหนัง
การใช้ยานี้รักษานานๆมักมีผลต่อตับ
:red_flag: ขนาดและวิธีใช้
ผู้ใหญ่ใช้ขนาด 5 ถึþ 8 มก./กก.
โดยทั่วไปใช้ขนาด 300 มก./วัน ให้ครั้งเดียว
ยกเว้นกรณีที่ให้ยาแบบเว้นระยะต้องให้สูงถึง 900 มก./วัน
ในเด็กให้ขนาด 10 – 20 มก./วัน แต่ไม่เกิน 300 มก./วัน
Rifampicin
เป็นยาทีมีฤทิธ์ฆ่าวัณโรคสูงเทียบเท่าหรืออาจเหนือกว่าไอโซอะซิด
:red_flag: อำกำรไม่พึงประสงค์
ตับอักเสบ
**ข้อควรระวัง
ในผู้ป่วยโรคตับ หญิงมีครรภ์ หญิงให้นมบุตร
:red_flag: ขนาดและวิธีช้
ผู้ป่วยทั่วไปคือวันละ 600 มก.
ในเด็กให้ขนาด 10 – 20 มก./กก.
Pyrazinamide
first choice combination regimen
:red_flag: อาการไม่พึงประสงค์
ขัดขวางการขับกรดยูริคออกทางปัสสาวะ
จึงพบว่าทำให้ระดับกรดยูริคในเลือดสูงขึ้น
Ethambutol
ใช้ร่วมกับยาอื่น เพื่อป้องกันการดื้อยาของเชื้อ
:red_flag:อาการไม่พึงประสงค์
Retinal damage
Optic neuritis ทำให้ตามัว มองเห็นไม่ชัด ตาบอดสี
:red_flag: ขนาดและวิธีใช้
โดยทั่วไปให้ขนาด 15 – 20 มก./กก.
การให้ยาในขนาดที่สูง
เพื่อให้ได้ผลการรักษาที่มีขึ้น
หากลืมลดขนาดของยาจะทำให้มีโอกาสเกิดประสาทตาอักเสบเพิ่มมากขึ้น
Streptomycin
ยาขนานแรกที่ใช้ในการรักษาวัณโรค
ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรคในภาวะที่เป็นด่าง
:red_flag: อาการไม่พึงประสงค์
พิษต่อหู(Ototoxicity)
-ทำลายระบบควบคุมการทรงตัว (Vestibular system)
พิษต่อไต (nephrotoxicity)
พิษต่อระบบประสาท (neurotoxicity)
:red_flag: ขนาดและวิธีใช้
ใช้ขนาด 15 มก./กก. หรือโดยทั่วไปให้ขนาด 1 กรัม/วัน โดยฉีดครั้งเดียว
Thiacetazone
ใช้ร่วมกับไอโซไนอะซิดในการรักษาวัณโรคครั้งแรก
:red_flag: อาการไม่พึงประสงค์
conjunctivitis , vertigo
ถ้ารุนแรง erythema multiform , haemolytic anaemia , agranulocytosis , cerebral oedema , hepatitis
:red_flag: ขนาดและวิธีใช้
150 มก./วัน + INH 300 มก./วัน
7.Para-aminosalicylic acid ,PAS
ฤทธิ์ค่อนข้างอ่อน
แต่เมื่อใช้ร่วมกับไอโซไนอะซิดพบว่าให้ผลการรักษาดี
:red_flag: อาการไม่พึงประสงค์
nausea , vomiting , เสียดแน่นท้อง ท้องเดิน
:red_flag: ขนาดและวิธีใช้
ขนาดไม่น้อยกว่า 8 – 9 กรัม/วัน แบ่งให้วันละ 2 – 3 ครั้ง
8.Ethionamide
มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรคค่อนข้างสูง
ไม่นำมาใช้อย่างแพร่หลายเนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่สามารถทนฤทธิ์ไม่พึงประสงค์์ของยาได้เภสัชจลนศาสตร์
:red_flag: อาการไม่พึงประสงค์
nausea , vomiting , vertigo
:red_flag: ขนาดและวิธีใช้
ใช้ขนาด 750 – 1000 มก./วัน
ถ้าขนาดยาต่ำกว่า 750 มก. ผลการรักษาจะไม่ดี
:fire: ระบบยาที่แนะนำ
:pencil2: ระบบยาที่ใช้เวลา 6 เดือน
2HRZE(S)/4HR
:pencil2: ระบบยาที่ใช้เวลา 8 เดือน
2HRZE(S)/6HE
:pencil2: ระบบยาที่ใช้เวลา 9 เดือน
2HRE/7HR
:<3: Antiprotozoals
Metronidazole
เป็นยาที่เลือกใช้เป็นอันดับแรก
ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์
▪ คลื่นไส้อาเจียน ปากแห้ง
▪ เกิด disulfiram-like effects เมื่อดื่มสุรา
Trichomoniasis
รับประทาน 2 กรัม ครั้งเดียว หรือ 250 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง 7 วัน
Amebiasis
รับประทาน 250 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้งเป็นเวลา 7-10 วัน
Giardiasis
รับประทาน 250 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง 5-7 วัน หรือวันละ 2 กรัม เป็นเวลา 3 วัน
:<3: Antihelmiintics
กลไกการออกฤทธิ์ของยา แบ่งได้ 3 แบบ
ยาออกฤทธิ์ทำลายกระบวนการป้องกันตัวของพยาธิ
Niclosamide
Diethylcarbamazine
ยาออกฤทธิ์ยับยั้งไม่ให้พยาธิใช้กลูโคสจาก host
Mebendazole
albendazole
ยาออกฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อพยาธิเป็นอัมพาต
Piperazine citrate
Pyrantel pamoate
ยาขับพยาธิตัวกลมในลำไส้
Mebendazole
ประโยชน์ที่ใช้
ยานี้มีฤทธิ์ขับพยาธิไส้เดือน พยาธิ
เส้นด้าย พยาธิแส้ม้าพยาธิปากขอและ
พยาธิแคปิลลาเรียได้ผลดี
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการนำกลูโคสจาก host มาใช้ทำ
ให้ไม่มีพลังงานเพื่อการอยู่รอดและ
สืบพันธุ์
เป็นอัมพาตและตาย
ขนาดและวิธีใช้
พยาธิเส้นด้าย
รับประทานครั้งเดียว 100 มก
พยาธิไส้เดือน พยาธิปากขอและพยาธิแส้ม้า
รับประทานครั้งละ 100 มก. เช้าและเย็นติต่อกันเป็นเวลา 3 วัน
พยาธิแคปิลลาเรีย
รับประทานครั้งละ 200 มก. เช้าและเย็นติดต่อกันเป็นเวลา 3-4 สัปดาห์
อาการไม่พึงประสงค์
ปวดท้อง ท้องเดิน ไม่ควรใช้ในหญิงมีครรภ์
Albendazole
ประโยชน์ที่ใช้
ยานี้มีประสิทธิภาพคล้ายมีเบนดาโซล
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการนำกลูโคสจาก host มาใช้
พยาธิหยุดการเคลื่อนไหวและตาย
ขนาดและวิธีใช้
ผู้ใหญ่และเด็กอายุเกิน 2 ปี ใช้ขนาดเท่ากัน
อาการไม่พึงประสงค์
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ ปวดท้องและท้องเดิน
ไม่ควรใช้ในหญิงมีครรภ์
** ควรระมัดระวังเป็นพิเศษในเด็กเล็ก
Pyrantel pamoate (Combantrine)
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์
Cholinesterase ทำให้กล้ามเนื้อพยาธิเป็นอัมพาตแบบหดเกร็ง
อาการไม่พึงประสงค์
เกิดชั่วคราว อาจมีอาการปวดศีรษะ วิงเวียน ไข้เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้องท้องเดิน
ข้อควรระวัง
ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์และเด็กอายุต่ำกว่า 2 ขวบ
Piperazine citrate
กลไกการออกฤทธิ์
ทำให้พยาธิเป็นอัมพาตแบบอ่อนเปลี้ย
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน
ลมพิษ กล้ามเนื้อกระตุก
ความรู้สึกทางประสาทสัมผัสผิดปกติ
ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติโรคลมชัก
เพราะอาจเกิดอาการชักได้
ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยโรคตับ โรคไต
Thiabendazole
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสร้าง microtubule และขัดขวางการนeกลูโคสจาก host มาใช้
ยามีผลต่อพยาธิตัวแก่ตัวอ่อนและป้องกันการเจริญของไข่
อาการไม่พึงประสงค์
เกิดผื่นแบบ Erythema multiforme
ไม่ควรใช้ในเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 15 กก.
ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยโรคตับและโรคไต
ยาขับพยาธิตัวกลมในเนื้อเยื่อ
Diethylcarbamazine
กลไกการออกฤทธิ์
ยานี้มีฤทธิ์ฆ่าพยาธิตัวแก่ แต่กลไกยังไม่ทราบแน่ชัด
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
แต่ในการทำลายไมโครฟิลาเรียในเลือดโดยเฉพาะของพยาธิBrugia มักทำให้มีไข้ ปวด
กล้ามเนื้ออยู่2-3 วัน ซึ่งให้รับประทานยาลดไข้ก็ทุเลา
ยาขับพยาธิตัวตืด
เป็นยาอันดับแรกในการรักษาโรคพยาธิตัวตืด เกือบทุกชนิด
กลไกการออกฤทธิ์
มีผลต่อผิวของพยาธิ ทำให้ส่วนหัวของพยาธิหลุด
ออกจากลำไส้ ทั้งส่วนหัวและปล้อง
Niclosamide
ข้อควรระวังในการใช้ยาและข้อห้ามใช้
ควรงดดื่มแอลกอฮอล์
ยาไม่มีผลต่อไข่ของพยาธิ
แต่ถ้าใช้ Niclosamide จะต้องให้ยาระบาย (purgative)
Magnesium Sulfate 15-30 ก. หรือ Sodium sulfate ตามภายใน 1-2 ชั่วโมง
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ ปวดท้อง มึนงง แต่ไม่รุนแรงและเกิดขึ้นชั่วคราว
ขนาดและวิธีใช้
รับประทานครั้งเดียวตอนเช้าและเวลาท้องว่าง
ต่ำกว่า 2 ปีให้ 1 เม็ด
2-6 ปีให้ 2 เม็ด
อายุเกิน 6 ปี และผู้ใหญ่ให้ 4 เม็ด
ถ้าเป็นพยาธิตืดหมูควรให้ยาถ่ายตามไปด้วยในเวลา 2 ชม. ต่อมา
ยาขับพยาธิใบไม้ในตับ
Praziquantel ( Biltricide)
ประโยชน์ทีใช้
ใช้เป็นยาอันดับแรกในการรักษาโรคพยาธิใบไม้เกือบทุกชนิด
ใช้เป็นยารองในการรักษาพยาธิตัวตืดในลำไส้
เป็นยาอันดับแรกในการรักษาพยาธิตืดหมู
กลไกการออกฤทธิ์
ยาเพิ่มการซึมเข้าของ Ca2+ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของพยาธิ ทำให้กล้ามเนื้อ เป็นอัมพาตแบบหดเกร็ง
ท าให้เกิดการต้านทานการดูดซึมสารกลูโคส ทำให้ระดับกลัยโคเจนของตัวพยาธิลดลง และทำให้พยาธิตายในที่สุด
ขนาดและวิธีใช้
ไม่ควรเคี้ยว ควรกลืนทั้งเม็ดพร้อมอาหาร
อาการไม่พึงประสงค์
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ ปวดท้อง ท้องเดิน
อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อ มึนงง ง่วงนอน
ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ ากว่า 4 ปี ในหญิงมีครรภ์ ในหญิงระยะให้นมบุตร
มะเกลือ ( Diospyros mollis)
ประโยชน์ที่ใช้
ขับพยาธิปากขอได้ดีมากพยาธิไส้เดือนกลมพยาธิแส้ม้าพยาธิเส้นด้ายพยาธิใบไม้ลำไส้และพยาธิตัวตืด
ฤทธิ์และอาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้อาเจียน ท้องเดิน
พิษต่อตา จนถึงตามัวและบอดได้
ขนาดและวิธีใช้
ขนาด1 ผลต่ออายุ1 ปีแต่ไม่เกิน 25 ผล
รับประทานเวลาท้องว่างอาจเป็นเวลาเช้ามืดและงดอาหารเช้า
ปวกหาด (Artocarpus lakoocha)
สารนี้มีฤทธิ์ขับพยาธิตืดวัวและตืดหมู
ฤทธิ์และอาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ถ้าเป็นสารสกัดจะมีผลข้างเคียงน้อยลง
รูปแบบของยา
ผงปวกหาด ได้จากการเคี่ยวแก่นมะหาดกับน้ำจนเกิดฟองแล้วช้อนฟองขึ้นมาทิ้งให้แห้ง
ขนาดและวิธีใช้
มีการทดลองใช้แต่ในผู้ใหญ่ ให้งดอาหารเช้าและให้ผงปวกหาด 3 กรัม
หรือสารสกัดผงประมาณ 2 กรัม รับประทานกับน้ าเย็น 2 ชม. ต่อมาให้รับประทานยาถ่าย
:<3: ANTIFUNGALS
:star: ยารักษาเชื้อรา
อาจแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ
ชนิดที่ใช้ทาภายนอก (Topical)
Topical antifungal agents
Whitfield’s ointment
Benzoic acid + Salicylic acid
Benzoic acid มีฤทธิ์เป็น Fungistatic
Salicylic acid เป็น Keratolytic
** มักจะใช้ในการรักษา Tinea pedis
Tolnaftate
เป็น Thiocarbamate ใช้รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อ Dermatophyte
ใช้รักษา Candida ไม่ได้ผล
ใช้รักษา Tinea pedis ได้ผลประมาณ 80%
Ciclopirox olamine
ออกฤทธิ์กว้าง มีฤทธิ์เป็น Fungicidal ต่อเชื้อ Candida albicans
หยุดการเจริญเติบโตของ Pityrosporum orbiculare (M.furfur) ได้
รักษา
Cutaneous candidiasis
Tinea corporis
Tinea cruris
Tinea pedis
tinea versicolor
มีใช้ในรูปของ 1% Cream เช่น Batrafen
Imidazoles
ออกฤทธิ์กวา้ง
มีผลต่อแบคทีเรีย และโปรโตซัวบางอย่าง
Clotrimazole, econazole และ Miconazole
Sodium Thiosulphate
ใช้ได้ไม่เกิน 2 สัปดาห์
ใช้รักษาเกลื้อนด้วยความเข้มข้น 20% ใช้ป้องกันเชื้อราที่เท้าในบริเวณสระน้ำ
เป็นสารที่ไม่มีพิษถ้ารับประทานเข้าไปมาก ๆ มีฤทธิ์เป็นยาระบาย
Selenium Sulphide
ใช้สระผมรักษารังแคที่ศีรษะ และใช้ทารักษาโรคเกลื้อนได้
ดูดซึมได้ถ้าผิวหนังอักเสบหรือเป็นแผล
มีพิษมากถ้ารับประทานเข้าไป
มีอาการเบื่ออาหาร อาเจียน ซีด และตับเสียได้
ชนิดสำหรับใช้รับประทาน (Systemic)
Systemic antifungal agents
Nystatin
มีผลต่อ Candida, Cryptococcus, Histoplasma และ Blastomyces
ยาถูกดูดซึมได้น้อยมากจากทางเดินอาหาร
จึงใช้เป็นยารับประทานรักษาเชื้อ Candida ในทางเดินอาหาร
Griseofulvin
เป็น Fungistatic ต่อเชื้อราโดยเฉพาะพวก Dermatophytes ใช้รักษาเชื้อรา
ของผิวหนัง รวมทั้งผมและเล็บ
ฤทธิ์และอาการไม่พึþประสþค์
ปวดศีรษะ
อ่อนเพลีย วิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน ปากแห้ง อาการเหน็บชา
เป็นพิษต่อตับ
เม็ดเลือดขาวต่้า (Leukopenia)
ยานี มีใā้ในรูปของยาเม็ด ขนาด 125, 250 และ 500 มก.
เด็กให้ 10 มก./กก./วัน
ผู้ใหญ่ให้วันละ 500 มก. ถึง 1 กรัม ต่อวัน
Ketoconazole
รักษา Dermatophytes, Candidal
มีฤทธิ์ต่อ Gram positive cocci
มีฤทธิ์ต่อต้าน Parasite
Plasmodium falciparum ทั้งที่ Sensitive และ
Resist ต่อ Chloroquine
Leishmania tropica
ฤทธิ์และอาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ และอาเจียน ซึ่งอาจลดอาการลดลงได้โดยให้
รับประทานยาพร้อมอาหารอาการอื่นที่พบมีเบื่ออาหาร
ปวดศีรษะ ปวดท้อง (Epigastric)
เลือดออกตามไรฟัน
อาการกลัวแสง (Photophobia)
เกล็ดเลือดน้อยลง (Thrombocytopenia)
กดการทำงานของต่อมหมวกไต
4.Itraconazole (sporal)
เป็นยาต้านเชื้อราชนิดรับประทานตัวแรกของยาในกลุ่ม Triazole
มีขอบเขตในการออกฤทธิ์กว้าง
ใช้ได้ผลในการรักษา
Dermatophytes
Yeast
Candida species
Aspergillus species
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องอืดและปวดศีรษะ
5.Fluoconazole (Diflucan)
ใช้ได้ดีกับการรักษาการติดเชื้อราในผู้ป่วยโรคเอดส์
การติดเชื้ออแคนดิดาในช่องคลอดอาจให้เพียครั้งเดียว
❑ ยาแคปซูล ขนาด 50 และ 150 มก.
❑ ยาทา ความเข้มข้น 2 มก./มล.
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียนปวดท้อง ท้องเดิน และท้องอืด
อาจพบผื่น
แพ้ยาชนิดรุนแรงเมื่อใā้ในผู้ป่วยโรคเอดส์
6.Amphotericin B
ยานี้มีอันตรายในการใช้ค่อนข้างสูง
เนื่องจากยาออกฤทธิ์โดยจับกับ sterols ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของเยื่อหุ้มเซลล์
มีเฉพาะในรูปของยาฉีดขนาด 50 มก./มล.
ควรให้ยานี โดยหยดผสมในน้ำเกลืออย่างช้า ๆ ให้ผสมใน Dextrose in water
ยามีผลในการทำลายเชื้อรา
Histoplasma capsulatum
Coccidioides immitis
Candida sp.
Blastomyces dermatitidis
Cryptococcus sp.
Aspergillus sp.
อาการไม่พึงประสงค์
ไข้ หนาวสั่น ความดันเลือดต่ำ หอบเหนื่อย
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดตามตัว ปวดศีรษะ
อาจทำให้เกิดพิษต่อไต และระบบประสาท
:star: ยาต้านไวรัส
(Antiviral drugs)
คุณสมบัติที่ดีของยาต้านไวรัส
ยาจะต้องออกฤทธิ์เฉพาะเจาะจงต่อ target virus หรือ viral specific products เท่านั้น
สามารถยับยั้งการเกิด reactivation ของไวรัสที่ยังคงเหลืออยู่ในร่างกาย
ไม่ก่อให้เกิดการดื้อยา และไม่เป็นพิษต่อโฮสท์เซลล์
1.Acyclovir
เป็นยารักษาโรคติดเชื้ออเฮอร์พีสที่ดีที่สุดตัวหนึ่ง
โดยเชื้อพาะไวรัสเริม และ อีสุกอีใส – งูสวัด
ใช้ในการรักษาการติดเชื้อที่กระจกตา แผลที่ริมฝีปาก และอวัยวะสืบพันธุ์ สมองอักเสบ
อาการไม่พึงประสงค์
อาจมีผลต่อการทำงานของตับไต อาการคลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน
รูปแบบยา ขนาดและวิธีการใช้
ขี้ผึ้งป้ายตาขนาด 3 %
ใช้ป้ายตาทุก 4 ชั่วโมง จนอาการทุเลา
ยาเม็ด 200 และ 400 มก.
ติดเชื้อเริมแสดงอาการครั้งแรกนานไม่เกิน 5 วัน ให้ 200 มก. วันละ 5ครั้ง เป็นเวลา 5 –10 วัน
งูสวัดให้
500 มก. ทุก 4 ชั่วโมง นาน 7- 10 วัน
2.Vibarabin ( Ara-A , Adrenosine arabinoside )
ในรายที่เป็นแผลที่กระจกตา รายที่มีการติดเชื้อทั่วตัว ซึ่งมีอาการรุนแรงโดยเฉพาะในทารกแรกเกิด และ ผู้ป่วยที่มีระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง
อาการไม่พึงประสงค์
ยานี้กดการทำงานของไขกระดูก และ อาจท้าให้มีการอักเสบของหลอดเลือดดำในบริเวณที่ให้ยา
3.Idoxuridine ( IDU )
เป็นยาตัวแรกที่ให้ผลดีในการรักษาการอักเสบ และ แผลที่กระจกตา ซึ่งเกิดจากเชื้อเฮอร์พีส
อาการไม่พึงประสงค์
ทำให้เกิดการอักเสบ เมื่อใช้หยดหรือป้ายตา
มีอาการบวมแดง คัน แสบ และ เคืองตา ยา
รูปแบบ ขนาดและวิธีใช้ยา
0.5 % ชนิดป้ายตาทุก 4 ชั่วโมง ในเวลากลางวัน และป้าย 1 ครั้งก่อนนอน และ ควรใช้ยาป้ายตาต่อไปอีก
3 – 5 วัน หลังจากที่แผลหายแล้ว
4.Amantadine , Rimantadine และ Tromantadine
ใช้ป้องกัน และ รักษาไข้หวัดใหญ่ type A
กลไกการออกฤทธิ์
ยาจะยับยังการเข้าสู่เซลล์ของไวรัส โดยขัดขวางการเกาะติดของไวรัส และการปลดปล่อยกรดนิวคลีอิคของไวรัสเข้าสู่เซลล์
ยานี้จะใช้ได้ผลต่อเมื่อหลังจากติดเชื้อไวรัสแล้วไม่เกิน 72 ชั่วโมง
ฤทธิ์ และ อาการไม่พึงประสงค์
อาการผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง
นอนไม่หลับ ตามัว ตาพร่า ซึมเศร้า มือสั่น บางรายมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปากแห้ง ปัสสาวะบ่อย
ผื่นที่ผิวหนัง อาการมักเกิดขึนในสัปดาห์แรกของการใช้ยา
รูปแบบ ขนาดและวิธีให้ยา
ชนิดแคปซูล 100 มก. และ ชนิดน้ำเชื้อม 50 มก./5มล.
ผู้ใหญ่ให้ 100 มก.วันละ 2 ครั้ง เด็กอายุ 1-9 ปีให้ 2-4 มก./กก./วัน แบ่งให้ 2-3 ครั้ง ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 150 มก.
5.Interferon ( IFN )
IFN เป็นโปรตีนที่เซลล์ที่ติดเชื้อไวรัสสังเคราะห์ขึ้น
มีฤทธิ์ป้องกันไม่ให้เซลล์ที่ยังไม่ติดเชื้อไวรัสติดเชื้อไวรัส
สามารถยับยั้งการเพิ่มจำนวนของเชื้อไวรัสได้หลายชนิด โดยไม่ท้าอันตรายต่อโฮสท์เซลล์
อาการไม่พึงประสงค์
Interferon syndrome คือมีอาการไข้ หนาวสั่น ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย
ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ เบื่ออาหาร
สามารถใช้ยาพาราเซตามอล ลดไข้ได้ อาการจะทุเลาลงเมื่อหยุดใช้ยา
:star: ยาต้านไวรัสเอชไอวี
ANTI-HIV
แบ่งตามกลไกการออกฤทธิ์เป็น 2 กลุ่มคือ
Reverse transcriptase inhibitors
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง DNA โดยยับยั้งเอนไซม์
reverse transcriptase
zidovudine (AZT)
didanosine (ddI)
zalcitabine (ddC)
stavudine (d4T)
lamivudine (3TC)
Mevirapine
Delavirdine
efavirenz
ยาเหล่านี้ถูกดูดซึมได้ดีมากทางเดินอาหาร
ใช้ยาเหล่านีเดี่ยวๆ เชื้อจะดื้อยาได้ง่าย
อาการไม่พึงประสงค์ที่อาจพบ
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะและเป็นพิษต่อตับ
ยาบางชนิดท้าลายไขกระดูกหรือท้าให้ปลายประสาทอักเสบ
ตับอ่อนอักเสบ
Protease inhibitors
ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ protease จึงขัดขวางขั้นตอน replication
ทำให้ไม่อาจกลายเป็นไวรัสที่สมบูรณ์ได้
ดูดซึมจากทางเดินอาหารได้ดีและใช้เป็นยาเดี่ยวได้(ยกเว้น saquinavir)
แต่จะให้ผลการรักษาดีขึ้นถ้าใช้ร่วมกับยายับยั้งเอนไซม์
Reverse transcriptase
การใช้ยาร่วมกัน 3ชนิด
saquinavir, zalcitabine (ddC), zidovudine (AZT)
ให้ประสิทธิผลสูงกว่าการใช้ยาร่วมกันเพียง 2ชนิด
Saquinavir
Ritronavir
Indinavir
nelfinavir
อาการไม่พึงประสงค์ที่อาจพบ
คลื่นไส้อาเจียน ท้องเดินและอ่อนเพลีย
ยาบางชนิดอาจทำให้ปวดศีรษะและปลายประสาทอักเสบ
:star: ยาต้านมาลาเรีย (Antimalarial drugs)
ยาที่ใช้รักษามาลาเรีย
Quinine Sulfate และ Quinine Dihydrochloride
เป็น alkaloid ได้จากเปลือกต้น Cinchona
กลไกการออกฤทธิ์
ยาสามารถจับกับ DNA ท้าให้ไม่มีการสร้างโปรตีน
ประโยชน์ที่ใช้ในการรักษา
เป็นยา first choice ในผู้ป่วยซึ่งเป็นมาลาเรียจากเชื้อ P. f
ระยะเฉียบพลันรุนแรง ซึ่งอาจจะมีอาการทางสมองด้วย
อาการไม่พึงประสงค์
Cinchonism
Black water fever ผู้ป่วยปัสสาวะเป็นสีด้าเนื่องจาก
ขาดเอนไซม์ G-6-PD
อาการแพ้
หอบ ลมพิษ(เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด)
Chloroquine Phosphate, Chloroquine Hydrochloride
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยัังการสร้าง DNA และ RNA
อาการไม่พึงประสงค์
ในหญิงมีครรภ์ที่ได้รับยานี้เด็กที่เกิดมาอาจจะหูหนวก สมองเสื่อม(mental retardation)
มองเห็นไม่ชัด เห็นภาพหลอน ตื่นเต้น และเส้นประสาทส่วนปลายผิดปกติ
Ocular toxicity ยานี้เป็นอันตรายต่อตา
Primaquine Sulfate
ประโยชน์ที่ใช้ในการรักษา
ป้องกันการเกิดไข้กลับ
ใช้ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อมาลาเรีย
อาการไม่พึงประสงค์
ในผู้ป่วยที่ขาดเอนไซม์ G-6-PD ถ้ารับ Primaquine ผิวเม็ดเลือดแดงจะถูกออกซิไดซ์ได้ง่ายเม็ดเลือดแดงจะแตก ท้าให้ปัสสาวะเป็นสีแดงแก่หรือดำ
อาการที่เกิดขึ้นเมื่อให้ยาในขนาดสูง เช่น ได้รับปริมาณ 60-240 มก.
คลื่นไส้ ปวดศีรษะ มีผื่นคันการปรับสายตาเพื่อมองภาพไม่ชัดเจน
ปวดท้องเกร็ง (abdominal cramp)
ในคนที่มีอาการหนักมากจะมีเม็ดเลือดขาวน้อย และ methemoglobinemia
เกิดการขาดออกซิเจน
Mefloquine
กลไกการออกฤทธิ์
ไม่ได้จับกับ DNA
เมื่อให้ครั้งเดียวเมโฟลควินสามารถกำจัดเชื้อมาเลเรียในเลือดได้รวดเร็วรวมทั้งเชื้อที่ดื้อต่อChloroquine ด้วย
ประโยชน์ที่ใช้ในการรักษา
ใช้เฉพาะการรักษาและป้องกันเชื้อ P.f ที่ดื้อต่อยา Chloroquine หรือ ที่ดื้อต่อยาหลายตัว (multidrug resistance)
ข้อเสียของยาตัวนี คือ ออกฤทธิ์ช้า ท้าให้อัตราการลดลงของเชื้อในเลือดช้าด้วย
ปัจจุบันมีการใช้ Mefloquine ร่วมกับ Pyrimethamine เพื่อลดการดื้อยาและเพิ่มประสิทธิภาพของยา
Antifolate
Pyrimethamine
Trimethoprim
Fansidar (Sulfadoxine 500 มก.+ Pyrimethamine 25 มก.)
กลไกการออกฤทธิ์
เมื่อนำยา Sulfadoxine ผสมกับ Pyrimethamine ยา 2 ชนิดจะออกฤทธิ์ยับยั้ง
การทำงานขอþเอนไซม์ DHFR คนละขั้นตอนกัน จึงเสริมฤทธิ์กัน
ใช้ในการรักษามาเลเรียจากเชื้อที่ดื้อต่อยา Chloroquine
มีข้อสังเกตว่า Sulfonamide จะใช้ได้ผลกับเชื้อ P. falciparum เท่านั้น จะไม่ได้ผลกับ P. vivax
ยาปฏิชีวนะอื่นๆ
Tetracyclines มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อได้แต่ออกฤทธิ์ช้า
มักใช้ร่วมกับ Quinine ในการฆ่าเชื้อ P. falciparumที่ดื้อยา Chloroquine
Tetracyclines ชนิดที่ใช้มาก คือ Doxycycline
GINGHAOSU (ARTEMISININ)
สกัดมาจากสมุนไพรจีนนจากต้น ชิงเฮา
ยานี้ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อ P. f ซึ่งดื้อต่อยา Chloroquine ได้ผลดี
นอกจากนี้ผลฆ่าเชื้อมาเลเรียชนิดอื่นก็ได้ผลดี
ยาจะฆ่าเชื้อในเลือดเท่านั้นไม่มีผลต่อเชื้อในตับ
เนื่องจากยามีค่าครึ่งชีวิตสั้นมากจึงไม่มีผลต่อการป้องกันการติดเชื้อ