Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ โภชนาการ - Coggle Diagram
โภชนาการของบุคคลในภาวะปกติ
1.โภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์
มีการสร้างเนื้อเยื่อต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ทำให้ร่างกายต้องการสารอาหารมากขึ้น
หากได้รับอาหารไม่เพียงพอ >> มีผลเสียต่อมารดาและทารกในครรภ์
มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
น้ำหนักแรกคลอดของทารกต่ำ
(น้อยกว่า 2,500 กรัม)
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีระของหญิงตั้งครรภ์
มดลูกเพิ่มความจุ
(จาก 10 มล. >> 5 ลิตร / น้ำหนัก )
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
(estrogen และ progesterone เพิ่ม)
การเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนของเลือด
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินอาหาร
ฮอร์โมนเปลี่ยนแปลง >> กระเพาะอาหารและลำไส้เคลื่อนไหวน้อยลง >> น้ าย่อยหลั่ง
น้อยลง
อาการคลื่นไส้อาเจียน
เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกาย เรียกว่า “อาการแพ้ท้อง” (morning sickness)
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
ความต้องการสารอาหารขณะตั้งครรภ์
ต้องการสารอาหารวันละ 2,050 kcal เช่น โปรตีน แคลเซียม ธาตุเหล็ก ไอโอดีน โฟเลท วิตามิน B6,C,A,D
2.โภชนาการสำหรับหญิงหลังคลอดและให้นมบุตร
อาหารของแม่ในระยะให้นมบุตร
คล้ายกับระยะตั้งครรภ์
แต่เพิ่มปริมาณขึ้นเพราะทารกต้องการ
สารอาหารมากกว่าตอนอยู่ในท้อง
เช่น วิตามิน A, C,B6, folate
การกินอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงจะช่วยให้มารดาผลิตน้ำนมเลี้ยงทารกได้เพียงพอ
ความต้องการของสารอาหารในระยะให้นมบุตร
ต้องใช้พลังงานประมาณ 85 kcal ต่อน้ำนม 100 มล.ควรได้รับพลังงานเพิ่มขึ้นวันละ 500 kcal
ควรกินอาหารประเภท ข้าว/แป้ง/เนื้อสัตว์/นม/ไข่ เป็นส่วนใหญ
โปรตีน
ควรได้รับเพิ่มขึ้น 25 g/day >> ใช้ผลิตน้ำนมและซ่อมแซมเซลล์ต่างๆ ของแม่ที่สูญเสียไประหว่างคลอด
แคลเซียม
ใน 1 วัน ควรได้รับแคลเซียม 1,200 mg/day
ธาตุเหล็ก
ต้องการธาตุเหล็กจากอาหารวันละ 15 mg เช่น เครื่องในสัตว์ เนื้อสัตว์ ไข่ ผักใบเขียว
วิตามิน
วิตามิน A,D,B1,B2,C
น้ำ
เพื่อให้การหลั่งน้ำนมมากขึ้น
ปัญหาโภชนาการในหญิงให้นมบุตร
ความเชื่อเกี่ยวกับอาหารแสลง
ความยากจน
. นิสัยการบริโภคไม่ดี
ขาดความรู้ด้านโภชนาการ
โภชนาการสำหรับวัยทารก
(เด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 1 ปี)
อาหารที่เหมาะสมสำหรับทารก ทั้งชนิดและปริมาณ เป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาและการเจริญเติบโตของร่างกายและสมอง
การได้รับอาหารที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญต่อพัฒนาการและการเจริญเติบโตของทารก
ความต้องการสารอาหารในทารก
แรกเกิด-6 เดือนแรก ทารกได้พลังงานและสารอาหารจากนมแม่อย่างเดียว
หลังจาก 6 เดือนถึงขวบปีแรก ทารกจะได้รับพลังงานและสารอาหารจากอาหารอื่นร่วมกับ
นมแม
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
มีคุณค่าทางโภชนาการ มีสารอาหารครบถ้วน ย่อยง่าย
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ทำให้ทารกเจริญเติบโตอย่างเต็มที่
มีผลดีต่อจิตใจแม่และลูก
ช่วยสร้างเสริมพัฒนาการทางสมองและสติปัญญา
ทำให้มดลูกของแม่เข้าอู่เร็ว
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ช่วยให้ประหยัด
ความพร้อมในการให้อาหารสำหรับทารก
1.ความพร้อมของระบบทางเดินอาหาร
ความพร้อมของไต อัตราการกรองของไตของทารก = ร้อยละ 15 ของผู้ใหญ่
ความพร้อมของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ ทารกสามารถควบคุมการทรงตัวของศีรษะและลำตัวได้ดี
การเลือกอาหารสำหรับทารก
ให้ทารกได้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและหลากหลาย ได้แก่ ข้าว เนื้อสัตว์ ปลา
ตับ ไข่ ผัก และผลไม้ เป็นประจำทุกวัน
กินไขมันให้เพียงพอ
กินผักผลไม้ทุกวันและกินให้หลากหลายชนิดโดยเฉพาะผักใบเขียวและผักสีส้ม
กินเนื้อสัตว์ทุกวัน เนื้อสัตว์ต่างๆ
โภชนาการสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
(เด็กอายุ1-6ปี)
ในระยะแรกๆ ของวัยนี้การเจริญเติบโตค่อนข้างเร็วและจะช้าลงเมื่ออายุมากขึ้น
การสร้างนิสัยการรับประทานอาหารที่ดีแก่เด็กก่อนวัยเรียน
ต้องจัดอาหารให้เพียงพอ และให้เพิ่มเมื่อเด็กต้องการ
ควรฝึกให้รับประทานอาหารหลักวันละ 3 มื้อ ให้มีอาหารว่างระหว่างมื้อเช้าและบ่าย
ควรให้ครั้งละน้อย ๆ ปรุงรส และสีสันให้น่ากิน
ลักษณะและรสชาติต้องจืด อร่อย ไม่เค็มจัด หรือหวานจัดเกินไป
ให้มีส่วนในการปรุงอาหารได้บ้าง เช่น ให้เด็กทาขนมปังด้วยแยม
พ่อแม่ควรเป็นแบบอย่างที่ดีโดยกินอาหารที่มีคุณค่า
โภชนาการสำหรับเด็กวัยเรียน
( เด็กอายุ 7-12 ปี )
อัตราการเจริญเติบโตในช่วงวัยเรียนตอนต้นจะเป็นไปอย่างช้าๆ ในช่วงวัยเรียนตอนปลาย อัตราการเจริญเติบโตของร่างกายจะสูงมากอีกครั้ง
การเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ สมอง และระบบประสาทจะไม่มีการเจริญเติบโตเพิ่มขนาด
แต่จะมีพัฒนาการด้านการเสริมสร้างเชาวน์ปัญญา
ข้อปฏิบัติในการจัดอาหารเด็กวัยเรียน
จัดอาหารให้ครบ 5 หมู่ ในแต่ละวัน โดยมีปริมาณพอเหมาะกับความต้องการ
ฝึกให้เด็กรู้จักความพอดีในการรับประทานอาหารแต่ละประเภท ไม่ควรตามใจหรือให้อาหารเป็นสิ่งต่อรองให้เป็นรางวัลหรือทำโทษ
โภชนาการสำหรับวัยรุ่น
(ผู้ที่มีอายุ 13-18 ปี
วัยที่ร่างกายเริ่มเปลี่ยนแปลงจากวัยเด็กสู่วัยผู้ใหญ)
ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลายอย่าง
ทำให้ความต้องการสารอาหารมากขึ้น
ความสำคัญของอาหารในเด็กวัยรุ่น
กินอาหารให้ครบ 5 หมู่
เด็กวัยรุ่นที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก ควรกินอาหารทุกมื้อและถูกต้องตามหลักโภชนาการ